Now showing items 1-18 of 18

    • Impact of a Clinical Practice Guideline and Its Passive Dissemination among Thai Psychiatrists’ Prescribing Attitudes towards Treatment-Resistant Schizophrenia 

      Pichet Udomratn; Manit Srisurapanont; มานิต ศรีสุรภานนท์ (Health Systems Research Institute, 2543)
    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของสารเคมีกำจัดศัตรูและสารเอ็นโดซัลแฟนในนาข้าว 

      Khawkhan Foundation; มูลนิธิข้าวขวัญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การกําหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของสารเคมีกําจัดศัตรูพืชและสารเอ็นโดซัลแฟนในนาข้าว เกิดจากการพบเห็นปัญหาด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจของเกษตรกร ในการใช้สารเคมีและสารเอ็นโดซัลแฟนในนาข้าว จึงเริ่มศึก ...
    • การปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานงานสุขภาพจิตและจิตเวชในระดับศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดพิจิตร 

      ปริญญา นากปุณบุตร; Parinya Nakpoonnabutra; พรณิภา พลอยกิติกูล; Pornnipa Ploykittikool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ผู้รับบริการส่วนใหญ่ยังขาดแคลนการดูแลที่มีความครอบคลุมทั้งด้านการบำบัดรักษา การส่งเสริมป้องกัน และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งบุคลากรทางสาธารณสุขโดยเฉพาะในระด ...
    • การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตแบบไร้รอยต่อและบูรณาการในประเทศไทย 

      พรทิพย์ วชิรดิลก; Porntip Wachiradilok; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; อัญชุลี เนื่องอุตม์; Aunchulee Neungaud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      สถานการณ์ปัจจุบันมีผู้ป่วยด้วยโรคจิตเวชเพิ่มมากขึ้นทุกขณะ ในภาพรวมพบว่าประชากร 1 ใน 5 ของประเทศไทยมีปัญหาสุขภาพจิต มีผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการเริ่มต้นถึงรุนแรงร้อยละ 14.3 หรือ 7 ล้านคน และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะฉุกเฉินว ...
    • การระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้และพัฒนาเครื่องตรวจวัดภาวะทางจิตจากเหงื่อแบบพกพา สำหรับคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช : การศึกษาพหุสถาบัน 

      ชฎิล กุลสิงห์; Chadin Kulsing; ภัทราวลัย สิรินารา; Patthrarawalai Sirinara; ชาวิท ตันวีระชัยสกุล; Chavit Tunvirachaisakul; Maes, Michael; ณัฐนี ตั้งกิจอนันต์สิน; Nuttanee Tungkijanansin; จามรี สอนบุตร; Jarmmaree Sornboot; ศรัณย์ ศรีคำ; Saran Srikam; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์; Monthichar Chenphanitsub; สิรินาถ มีเจริญ; Sirinat Meecharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โครงการนี้ได้พัฒนาวิธีทางเลือกสำหรับตรวจคัดกรองโรคหรือภาวะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทางจิต โดยเริ่มจากการทำฐานข้อมูลสารระเหยง่ายและระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้ในเหงื่อด้วยเทคนิค Gas Chromatography-Ion Mobility Spectrometry (GC-IMS) ...
    • การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย 

      ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; นิจนันท์ ปาณะพงศ์; Nitjanan Pananpong; ศุภณัฐ โชติชวาลรัตนกุล; Supanut Chotichavalrattanakul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วาทินี คุณเผือก; Watinee Kunpeuk; ปวันรัตน์ มิ่งเมือง; Pawanrat Mingmaung; ชญาน์นันท์ ครุตศุทธิพิพัฒนน์; Chayanan Khutsutthipipat; กานติมา วิชชุวรนันท์; Kantima Wichuwaranan; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพ สำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการนำบริการจิตเวชสู่ ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพจิตวิถีใหม่ 

      ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; นพพร ตันติรังสี; Nopporn Tantirangsee; พยงค์ เทพอักษร; Phayong Thepaksorn; ภัทรหทัย ณ ลำพูน; Pathathai Na Lumpoon; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; เยาวลักษณ์ มีบุญมาก; Yaowaluck Meebunmak; วันดี แสงเจริญ; Wandee Saengjarern; สันติ ประไพเมือง; Sunti Prapaimuang; กีรติ พลเพชร; Keerati Ponpetch; เพ็ญนภา กวีวงศ์ประเสริฐ; Pennapa Kaweewongprasert; ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; อลิซาเบธ เคลลี่ ฮอม เทพอักษร; Elizabeth Kelly Hom Thepaksorn; นิสารัตน์ สงประเสริฐ; Nisarat Songprasirt; รวิษฎา บัวอินทร์; Rawisada Buain (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      ความเป็นมาและเหตุผล : การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ของปัจจัยกำหนดสุขภาพจิตในช่วง “ความไม่ปกติใหม่ (New Abnormal)” ส่งผลให้ต้องมีการต้องประเมินสถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพจิตและนวัตกรรมทางเลือกที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเ ...
    • คู่มือปฐมพยาบาลสุขภาพจิตและการดูแลสุขภาพจิตประชาชน 

      ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; นพพร ตันติรังสี; Nopporn Tantirangsee; พยงค์ เทพอักษร; Phayong Thepaksorn; ภัทรหทัย ณ ลำพูน; Pathathai Na Lumpoon; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; เยาวลักษณ์ มีบุญมาก; Yaowaluck Meebunmak; วันดี แสงเจริญ; Wandee Saengjarern; สันติ ประไพเมือง; Sunti Prapaimuang; กีรติ พลเพชร; Keerati Ponpetch; เพ็ญนภา กวีวงศ์ประเสริฐ; Pennapa Kaweewongprasert; ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; อลิซาเบธ เคลลี่ ฮอม เทพอักษร; Elizabeth Kelly Hom Thepaksorn; นิสารัตน์ สงประเสริฐ; Nisarat Songprasirt; รวิษฎา บัวอินทร์; Rawisada Buain (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-25)
      ปัญหาสุขภาพจิตและโรคซึมเศร้าเป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญของประเทศไทย โดยพบว่าประชากร 1 ใน 5 มีปัญหาสุขภาพจิต นอกจากนั้น ปัญหาสุขภาพจิตมิใช่ส่งผลกระทบต่อเฉพาะผู้ป่วยเท่านั้นแต่ยังรวมไปถึงญาติ ผู้ดูแลและบุคคลในสังคม ปัญหาสุขภาพจ ...
    • ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ สมาคมนักระบาดวิทยาภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านสาธารณสุขและการพัฒนาที่ยั่งยืน 

      ธวัชชัย อภิเดชกุล; Tawatchai Apidechkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ สมาคมรักระบาดวิทยาภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านสาธารณสุขและการพัฒนาที่ยั่งยืน (The 14th SEA Regional Scientific Meeting of the International Epidemiological Association and International ...
    • ประเทศไทยกับการขับเคลื่อนประเด็นสุขภาพจิตในเวทีระดับโลก 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เทอดศักดิ์ เดชคง; Terdsak Detkong; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee; บรรลุ ศุภอักษร; Banlu Supaaksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ความตึงเครียดจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์ฯ เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้จำนวนผู้มีปัญหาทางสุขภาพจิตและภาระโรคทางสุขภาพจิตเพิ่มมากขึ้น ประเทศไทยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพจิตในช่วงของการระ ...
    • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานกับภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 

      ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; จีระเกียรติ ประสานธนกุล; Jirakeat Prasanthanakul; มุทิตา พนาสถิตย์; Muthita Phanasathit; ธนิยะ วงศ์วาร; Taniya Wongwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การวิจัยแบบตัดขวาง ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะสุขภาพจิต พฤติกรรมป้องกันเพื่อลดโอกาสติดเชื้อ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานและภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์สังก ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพจิตของประชาชนต่อสถานการณ์ การแพร่ระบาดเชื้อโคโรนาไวรัส (โควิด-19) เขตสุขภาพที่ 5 

      อัมพร เบญจพลพิทักษ์; Amporn Benjapolpitak; ธิติ แสวงธรรม; Thiti Sawangtham; ศรุตพันธุ์ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา; Sarutphan Chakkraphan na Ayutthaya; รุจิรา เข็มเพ็ชร; Rujira Kemphet; รักษ์พงศ์ เวียงเจริญ; Rakpong Wiangcharoen; จิรภัทร กัลยาณพจน์พร; Jiraphat Kanlayanaphotporn; ณัฐพงศ์ กาญจนะโกมล; Nattapong Kanchanakomala; อัญญา ปลดเปลื้อง; Unya Plodpluang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาเรื่อง ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส (COVID-19) เขตสุขภาพที่ 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเชิงลึกผลกระทบต่อสุขภาพจิตและปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 5 จากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ...
    • รายงานการทบทวนวรรณกรรม เรื่อง ระบบบริการจิตเวชครบวงจร 

      โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit; วิมลวรรณ ปัญญาว่อง; Wimonwan Panyawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      วัตถุประสงค์ เพื่อทบทวนวรรณกรรมและบทเรียนของต่างประเทศในการจัดระบบบริการจิตเวชครบวงจรและประเมินความเป็นไปได้เบื้องต้นในการจัดระบบบริการจิตเวชครบวงจรในประเทศไทย ทบทวนโดยการสืบค้นข้อมูล เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบบ ...
    • สุขภาพจิตของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอชไอวี โรงพยาบาลโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี 

      สุทธิพงษ์ ปิ่นแก้ว; Suthipong Pinkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยเชิงพรรณนา โดยการสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสุขภาพจิตของผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอชไอวี โรงพยาบาลโนนสะอาด อำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยที่มารับยาต้านเอชไ ...
    • สุขภาพจิตประชากรอายุ 15-59 ปี อำเภอละงู จังหวัดสตูล 

      ปวิตร วณิชชานนท์; Pawit Vanichanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถิติประชาชนอายุ 15-59 ปี ไปรับบริการที่โรงพยาบาลละงู เนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตมีแนวโน้มสูงขึ้น โดย พ.ศ.2547, 2548 และ 2549 มีอัตรา 3,219.54, 3,538.6 และ 4,625.00 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและจากการฆ่า ...
    • แนวทางการใช้ยารักษาโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา 

      จำลอง ดิษยวณิช; Chumlong Disayawanich; มานิต ศรีสุรภานนท์; Manit Srisurapanont; คณะทำงานเพื่อพัฒนา PTRS Guideline; PTRS Guideline Working Group (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      แนวทางการใช้ยารักษาโรคจิตเภทที่สนองต่อการรักษาโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาเป็นปัญหาที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคจิตเภทปัญหานี้ก่อให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างมากต่อสังคม เนื่องจากจนถึงปัจจุบันยังไม่แนวทางการรักษาโรคจิตเภทที่ ...
    • แพลตฟอร์มกลางสำหรับการสร้างเครื่องมือช่วยเหลือทางจิตใจ เพื่อยกระดับการให้บริการสุขภาพจิตด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์โต้ตอบอัตโนมัติในประเทศไทยด้วยปัญญาประดิษฐ์ 

      กลกรณ์ วงศ์ภาติกะเสรี; Konlakorn Wongpatikaseree; พณิดา โยมะบุตร; Panida Yomaboot; นริศ หนูหอม; Narit Hnoohom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)
      แชทบอทปัญญาประดิษฐ์ด้านสุขภาพจิตมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการให้บริการด้านสุขภาพจิตด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น การเข้าถึงง่าย การปิดบังตัวตนและความเป็นส่วนตัว การลดการตีตรา ลดภาระงานของบุคลากรด้านสุขภาพจิต เป็นเครื่องมือให้ ...
    • แพลตฟอร์มกลางสำหรับการสร้างเครื่องมือบำบัดทางจิตวิทยาด้วยปัญญาประดิษฐ์ 

      กลกรณ์ วงศ์ภาติกะเสรี; Konlakorn Wongpatikaseree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ปัญหาสุขภาพจิตส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและคนใกล้ตัว แม้การดูแลสุขภาพจิตจะมีความสำคัญแต่ก็มีข้อจำกัด เช่น ค่าใช้จ่ายสูง และจำนวนบุคลากรด้านสุขภาพจิตไม่เพียงพอ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพั ...