Now showing items 3113-3132 of 5487

    • ฐานข้อมูลกลางเพื่อการกำหนดกลไกการกำหนดราคาและกลไกการจ่าย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • ฐานข้อมูลการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ : การพัฒนาและการใช้ประโยชน์ 

      ณัฏฐิญา ค้าผล; ระพีพรรณ ฉลองสุข; เยาวลักษณ์ อ่ำรำไพ; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; ผกามาศ ไมตรีมิตร; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Nattiya Kapol; Rapeepun Chalongsuk; Yaowalak Amrumpai; Surasit Lochid-amnuay; Pagamas Maitreemit; Namfon Sribundit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
      การประเมินเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์เป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับผู้กำหนดนโยบายในการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามปัญหาในการเข้าถึงงานวิจัยและความรู้ความเข้าใจในงานด้านการประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ ...
    • ฐานข้อมูลจีโนมของเชื้อก่อโรคประจำถิ่น Pythium Insidiosum เพื่อการศึกษาความหลากหลายทางพันธุศาสตร์และโปรตีนที่ไม่ทราบหน้าที่ สำหรับการค้นหากระบวนการใหม่ของเซลล์ การก่อโรค และการวินิจฉัยและการรักษาการติดเชื้อ 

      ธีรพงษ์ กระแจะจันทร์; Theerapong Krajaejun; วีรยุทธ กิตติโชติรัตน์; Weerayuth Kittichotirat; ปรีชา ปทุมเจริญผล; Preecha Patumcharoenpol; สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง; Sithichoke Tangphatsornruang; ธิดารัตน์ รุจิรวรรธน์; Thidarat Rujirawat; ภัทรนา แซ่จิว; Pattarana Sae-Chew; ดวงดาว วิชาดากุล; Duangdao Wichadakul; ชมพูเนกข์ ยุรญาติ; Chompoonek Yurayart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)
      เชื้อ P. insidiosum เป็นเชื้อในกลุ่ม oomycetes ที่สามารถก่อโรค pythiosis ในคนและสัตว์ มีรายงานการพบโรคนี้มากขึ้นทั่วโลก ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่มีโรค pythiosis ชุก การวินิจฉัยทำได้ยาก การรักษายังเป็นปัญหาเนื่องจากไม่ม ...
    • ฐานข้อมูลภูมิทัศน์จีโนมของมะเร็งลำไส้ใหญ่ชาวไทยเพื่อการแพทย์แม่นยำ 

      วิทูร ชินสว่างวัฒนกุล; Vitoon Chinswangwatanakul; มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; ศิษเฎศ ทองสิมา; Sissades Tongsima; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ปริยดา ตั๋นจักร; Pariyada Tanjak; อำพรรณ ไชยบุญชู; Amphun Chaiboonchoe; ปวีณา อุปนันต์; Paweena Uppanan; พชรพรรณ สนธิไทย; Pacharapan Sonthithai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)
      ปัจจุบันเทคโนโลยีการศึกษาการแสดงออกของยีนสามารถแบ่งมะเร็งลำไส้ออกเป็นรูปแบบต่าง ๆ (consensus molecular subtypes, CMS) ซึ่งเป็นแนวทางในการศึกษากลไกการเปลี่ยนแปลงมะเร็งลำไส้ รวมถึงการมุ่งเน้นเพื่อการรักษาโดยเฉพาะ ...
    • ฐานคติของแพทย์และสถาบันการแพทย์ 

      ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์; Thavitong Hongvivatana (2537)
      บทความนี้ได้นำเสนอในการประชุมวิชาการเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 4 "สังคมวัฒนธรรมกับสุขภาพ" ระหว่างวันที่ 24-27 พฤษภาคม 2537 ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ เป็นเสมือนกระจกเงาส่องให้กับวิชาชีพแพทย์ การดูตัวเองในกระจ ...
    • ฐานคติเรื่องเพศวิถีในนโยบายเรื่องโรคเอดส์ของรัฐไทย 

      ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์; Chalidaporn Songsamphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      แบบแผนการระบาดของโรคเอดส์ในประเทศไทยที่การแพร่กระจายของโรคเป็นไปโดยผ่านการร่วมเพศ/มีเพศสัมพันธ์ ทำให้แนวนโยบายเอดส์เกี่ยวข้องกับการจัดการเรื่องเพศของคนในสังคม ซึ่งมาตรการหลักที่กระทำอย่างต่อเนื่องเป็นเรื่องของการพยายามทำ ...
    • ดอกไม้ราตรี สินค้ามีชีวิต 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ดอกไม้ราตรี สินค้ามีชีวิต เป็นผลงานการศึกษาชีวิตของคนไทยที่ดำรงชีพซ่อนเร้นอยู่ในมุมมืดของสังคมที่ยากกว่าคนส่วนใหญ่จะเข้าใจได้ สารคดีเชิงวิเคราะห์สังคมเล่มนี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจและตระหนักในความเป็นมนุษย์ของคนเหล่านี้ ...
    • ดอกไม้ในพายุ 

      บุษบงก์ วิเศษพลชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552 ในหัวข้อ เรียนรู้รับมือความรุนแรงทางสังคมและสุขภาพในชุมชนอย่างเท่าทัน วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 09.00-12.30 ณ ห้องย่อยที่ 6 อาคารอิมแพ็ค คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี
    • ดอกไม้ในพายุ : กรณีศึกษาประสบการณ์ของผู้หญิงที่ถูกกระทำความรุนแรงซ้ำซากในครอบครัว 

      บุษบงก์ วิเศษพลชัย; Bussabong Wisetpholchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงการผลิตซ้ำของความรุนแรงและรูปแบบการต่อต้านขัดขืนของผู้ถูกกระทำเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยมุ่งตอบคำถามที่สำคัญคือ การผลิตซ้ำดำรงอยู่ในบร ...
    • ดอกไม้ในพายุ : กรณีศึกษาผ่านมุมมองประสบการณ์ของผู้หญิงที่ถูกกระทำความรุนแรงซ้ำซากในครอบครัว 

      บุษบงก์ วิเศษพลชัย (สถานีอนามัยนาเกลือ, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 1 : R2R in Primary care แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย R2R ที่ได้รับรางวัลยอดเยี่ยม ...
    • ดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      วัตถุประสงค์หลักของรายงานนี้คือ พยายามวิเคราะห์ถึงแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมด้านสุขภาพ และดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ โดยพยายามลงไปถึงด้านปรัชญา แนวคิด การตีความและข้อจำกัดของดัชนีเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนีที่ม ...
    • ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      เดชรัต สุขกำเนิด; รุ่งทิพย์ สุขกำเนิด; Decharut Sukkumnoed; Rungthip Sukkumnoed (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      โครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อกำหนดกรอบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล ...
    • ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      เดชรัต สุขกำเนิด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      การดำเนินโครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อส่งเสริมให้การดำเนินงานบริหารจัดการงานวิจัยให้โปร่งใส ...
    • ดัชนีชี้วัดเพื่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพประชาชนไทย 

      สรพงษ์ วิชกูล; Sorapong Wichakul (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      เพื่อจัดทำตัวชี้วัดทางสุขภาพในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน และความสำเร็จในระบบหลักประกันสุขภาพทั้ง 3 ระบบ (ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและครอบครัว และระบบประกันสังคม) จากฐานข้อมูลผู้ป่วยใน ...
    • ดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย 

      พัฒนาวิไล อินใหม; Phatthanawilai Inmai; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; ถาวร สกุลพาณิชย์; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำและพัฒนาดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย ทั้งในภาครัฐและเอกชน ดัชนีราคาค่าแรงถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องในต่างประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และแคนาดาในการตรวจวัดต้นทุนค่าแรง ...
    • ดัชนีวัดภาวะสุขภาพ : กลุ่มดัชนีพื้นฐานทางประชากร 

      ปราโมทย์ ประสาทกุล; Pramote Prasartkul; Patama Vapattanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ดัชนีชี้วัดสุขภาพเล่มนี้ เป็นการรวบรวมกลุ่มดัชนีพื้นฐานทางประชากร ซึ่งมีความสำคัญในการวัดภาวะสุขภาพใน 2 ลักษณะ คือ 1. นำมาสร้างเป็นดัชนีทางประชากรเพื่อชี้วัดขนาด โครงสร้าง และการเปลี่ยนแปลงของประชากร 2. ใช้ข้อมูลประชากรเ ...
    • ดัชนีวัดสถานะสุขภาพ : จากอายุขัยเฉลี่ย จนถึง DALY 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • ดัชนีวัดสถานะสุขภาพ : อดีตถึงปัจจุบัน 

      พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์; อังสนา บุญธรรม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • ดัชนีสถานะสุขภาพเชิงลบ 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; Yawarat Porapakkham; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      องค์การอนามัยโลกได้ให้ความหมายของคำว่า "สุขภาพ" ว่าเป็นภาวะที่สมบูรณ์ทั้งด้านกาย จิต สังคม และปัญญา ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคหรือความเจ็บป่วยเท่านั้น ซึ่งจากนิยามมองดูเป็นนามธรรมและยากที่จะวัดผลได้ เพราะการวัดสถานะสุขภาพของป ...
    • ดัชนีเศรษฐศาสตร์มหภาคเพื่อวัดความเป็นธรรมทางการคลังและการใช้บริการสาธารณสุขระหว่างปี 2529-2541 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ดัชนีเศรษฐมหภาคเพื่อวัดความเป็นธรรมทางการคลังและการใช้บริการสาธารณสุข ระหว่างปี พ.ศ. 2529-2541 เมื่อนโยบายสาธารณสุขวางไว้อย่างชัดเจนว่าต้องการบรรลุความเป็นธรรมทางสุขภาพ ดัชนีวัดความเป็นธรรมก็จะมีความสำคัญในการเฝ้าติดตามเ ...