Now showing items 4555-4574 of 5344

    • สถานภาพและบทบาทการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพภาคเอกชนในประเทศไทย 

      ยุพา วงศ์ไชย; Yupa Wongchai; ระพีพรรณ คำหอม; ปิยะฉัตร ชื่นตระกูล; สดใส คุ้มทรัพย์อนันต์; อภิญญา เวชยชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      สถานภาพและบทบาทการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพภาคเอกชนในประเทศไทย การศึกษาเรื่องสถานภาพและบทบาทการส่งเสริมสุขภาพองค์กรภาคเอกชน วิเคราะห์และเสนอแนะเชิงนโยบายในการสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพในองค์กรภาคเอกชน วิธีการศึกษาโดยแบบสอบถ ...
    • สถานภาพและบทบาทการส่งเสริมสุขภาพของภาคประชาชน 

      รุจินาถ อรรถสิษฐ; Rujinat Atasit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การศึกษาเรื่องสถานภาพและบทบาทการส่งเสริมสุขภาพของภาคประชาชน มุ่งเน้นการศึกษาและการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันของการส่งเสริมสุขภาพในภาคประชาชน มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนไทย ...
    • สถานสงเคราะห์คนชราอาคารเขียวต้นแบบตามหลักวิศวกรรมปัจจัยมนุษย์ 

      สุขสันติ์ หอพิบูลสุข; Suksun Horpibulsuk; อวิรุทธิ์ ชินกุลกิจนิวัฒน์; Avirut Chinkulkijniwat; พรศิริ จงกล; Pornsiri Jongkol; ณัฐฐิตา เพชรประไพ; Nutthita Petchprapai; ปัทมา วาจามั่น; Patama Vajamun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      งานวิจัยนี้ประกอบด้วยเนื้อหาหลักสำคัญสามส่วน: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการล้มของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราและลำดับความสำคัญของสิ่งอำนวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุ การออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้ ...
    • สถานะการทำงานและความพึงพอใจในการทำงานของนักกายภาพบำบัดไทยในภาครัฐและภาคเอกชน 

      สาริณี แก้วสว่าง; Sarinee Kaewsawang; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; บุญสิน ตั้งตระกูลวนิช; Boonsin Tangtrakulwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ในประเทศไทยนั้น กำลังคนด้านกายภาพมีความสำคัญเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การคาดการณ์กำลังคนด้านนี้ในอีก 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2569) ก็เป็นเรื่องสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับกระทรวงสาธารณสุขในการเตรี ...
    • สถานะสุขภาพของคนงานก่อสร้างในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      บัณฑิต ถิ่นคำรพ; อรุณ จิรวัฒน์กุล; ศิริพร จิรวัฒน์กุล; บุญศรี ปราบณศักดิ์; พรทิพย์ คำพอ (2540)
      คนงานก่อสร้าง เป็นกลุ่มอาชีพที่มีความเสี่ยงต่ออันตรายสูงมากกลุ่มหนึ่งและนับวันมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นตามการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะแรงงานจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อย่างไรก็ตาม พบว่ายังมีการศึกษาเกี่ยวกับสถานะสุข ...
    • สถานะสุขภาพของประชาชนวัยแรงงาน โดยการตรวจร่างกาย ศึกษาเฉพาะอาชีพ 

      ภัทรา จุลวรรณา; Patra Chunwanna; อำภาพร พัววิไล; เบญจมาภรณ์ จันทรพัฒน์; กชกร อยู่เย็น (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษาสถานะสุขภาพโดยการตรวจร่างกายของประชากรวัยแรงงานเฉพาะกลุ่มอาชีพ 6 อาชีพ เป็นการศึกษาสถานะสุขภาพ วิถีชีวิต พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและสภาพการทำงาน โดยการสัมภาษณ์ ตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ การศึกษาสุ่มสำ ...
    • สถานะสุขภาพของลูกแรงงานข้ามชาติย้ายถิ่น ที่จังหวัดระนอง 

      ลดาวัลย์ ประทีปชัยกูร; Ladawan Prathipchaikul; ถนอมศรี อินทนนท์; สมชาย วงศ์เจริญยง; อภิรดี แซ่ลิ่ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • สถานะสุขภาพของเด็กปฐมวัยไทย : รายงานการทบทวนองค์ความรู้ 

      ลัดดา เหมาะสุวรรณ; Ladda Mo-suwan; สมจิตร์ จารุรัตนศิริกุล; ถนอมศรี อินทนนท์; ปิยะธิดา ขจรชัยกุล; ประสิน จันทร์วิทัน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Health status of Thai infants & preschool childrrn: a reviewThis report is a 10-year-retrospective review of health status of Thai infants and preschool children. Literature search was done through three electronic publication ...
    • สถานะสุขภาพคนไทย 

      จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ; Chanpen Choprapawon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • สถานะสุขภาพอนามัยของประชากรไทยและแนวโน้มอนาคต 

      พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์; ดุสิต สุจิรารัตน์; กุลยา นาคสวัสดิ์; อุไรวรรณ คนึงสุขเกษม (2539)
      แม้ว่าแนวโน้มในอนาคต คนไทยจะมีอายุยืนยาวขึ้น แต่โรคในผู้สูงอายุก็จะเพิ่มขึ้นด้วย ในขณะที่โรคเอดส์ โรคติดเชื้อ ที่กลับมาระบาดใหม่โดยมีผู้อพยพจากประเทศเพื่อนบ้านเป็นพาหะ อุบัติเหตุและความรุนแรง ปัญหาสิ่งแวดล้อม สภาวะความเจ ...
    • สถานะสุขภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้ลี้ภัยในเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การวิเคราะห์เชิงนโยบายและการสำรวจความจำเป็นด้านสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนอง 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; วาทินี คุณเผือก; Watinee Kunpeuk; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; ปณิธี ธัมมวิจยะ; Panithee Thammawijaya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-19)
      แม้รัฐบาลไทยมีนโยบายที่ค่อนข้างชัดเจนในการดูแลสุขภาพสำหรับแรงงานต่างด้าวและผู้ติดตาม แต่ก็เป็นที่น่าสังเกตว่านโยบายการดูแลสุขภาพสำหรับผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมืองยังไม่ปรากฏเป็นรูปธรรมนัก ปัจจุบันมีผู้ลี้ภัยและผู้ขอ ...
    • สถานะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรวัยแรงงานไทย 

      สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์; Somkiat Sirirattanapruk; ศิริลักษณ์ สิมะพรชัย; อรสา โฆวินทะ; สมาน ฟูตระกูล; ทิชาพงษ์ หาญสรกานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ประชากรวัยแรงงานเป็นกลุ่มประชากรหลักในการสร้างผลผลิต และต้องดูแลกลุ่มประชากรวัยอื่น ๆ ของประเทศ ดังนั้นสถานะสุขภาพของประชากรวัยแรงงานสามารถบ่งบอกถึงสภาวะสุขภาพของประชากรไทยรวมทั้งประเทศ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ ...
    • สถานะและองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย 

      ชาติชาย มุกสง; Chatchai Muksong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      สิ่งที่ขาดหายไปในการแพทย์และสาธารณสุขไทย แต่ทุกคนจะไม่ค่อยรู้สึกก็คือ มิติทางประวัติศาสตร์ เนื่องเพราะสังคมไทยยังขาดการทำความเข้าใจความสัมพันธ์ของการแพทย์และสาธารณสุขในเชิงสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจอยู่มาก การแพทย์และการสาธ ...
    • สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินราชินี 

      เชิดชัย จันทร์บุญเจือ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) กับงาน R2R 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Ponpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเรื่อง “เคล็ดลับสำหรับคุณอำนวย R2R” ครั้งที่ 1/2552 โครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) วันที่ 12-13 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ณ ห้องปิติมหาการุญ 2000 ...
    • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข : ผลการดำเนินงาน 2536-2537 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
    • สถาปนิกอาทร ตามรอยพ่อ 

      วิติยา ปิดตังนาโพธิ์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), 2559-06)
      การปรับสภาพที่อยู่อาศัยของคนพิการที่อาศัยอยู่ในชนบทห่างไกล เพื่อการมีชีวิตที่พึ่งพาตนเองได้มากขึ้น และมีความสุขนั้น แม้จะเป็นสิทธิตามกฎหมายที่คนพิการพึงได้รับ และมีนโยบายรัฐจากหน่วยงานส่วนกลางแล้ว แต่บริการนี้ก็ไม่ได้มีโ ...
    • สถาปัตยกรรมบ้านคนพิการและผู้สูงอายุ : นโยบายไร้รอยต่อ 

      ศิรินาถ ตงศิริ; Sirinart Tongsiri (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2557-09-04)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • สถาปัตยกรรมบ้านคนพิการและผู้สูงอายุ: นโยบายไร้รอยต่อ 

      มานพ เชื้อบัณฑิต (องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู, 2557-09-04)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • สถาปัตยกรรมสำหรับความสามารถที่แตกต่าง : Differently-Abled Architecture DAA 

      สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)
      Differently-Abled Architecture DAA เป็นสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการออกแบบ จัดระบบ ปรับปรุงพื้นที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มีความเหมาะสม และเอื้อต่อการดำรงชีวิตของผู้พิการ ผู้ดูแลและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในด้านกายและใจ ...