Now showing items 1-20 of 43

    • การคัดกรองวัณโรคระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ศิตาพร ยังคง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Patsri Srisuwan; Tanunya Koopitakkajorn; Pritaporn Kingkaew; Sitaporn Youngkong; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อร้ายแรง มีอุบัติการณ์และความชุกสูง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย เว้นแต่การตรวจภาพรังสีทรวงอกที่บรรจุในโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ...
    • การจัดกลุ่มงานวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย: การทบทวนระบบจัดกลุ่มงานวิจัยสุขภาพใน 5 ประเทศ 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      งานวิจัยในสาขาใดๆ ก็ตามควรได้รับการจัดเก็บเป็นหมวดหมู่อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการงานวิจัยและการนำไปใช้ประโยชน์ของทั้งนักวิจัย หน่วยงานวิจัยและหน่วยงานให้ทุน รวมถึงประชาชน ปัจจุบันหน่วยงานให้ทุนในประเทศไทย ...
    • การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ...
    • การจัดลำดับความสำคัญของโรคหรือปัญหาสุขภาพที่ควรคัดกรองในประชากรไทย 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      การคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรเป็นการตรวจหาโรคหรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในประชากรที่สุขภาพดี เพื่อป้องกันโรคหรือรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น การคัดกรองบางรายการในชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพขาดหลักฐานเรื่องประ ...
    • การจัดหายาของโรงพยาบาลรัฐตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 

      วราวัลย์ จึงศิวะพรพงษ์; Warawan Chungsivapornpong; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; อรพรรณ อ่อนจร; Orapan Onjon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560 แทนระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ที่ใช้อยู่เดิม ทั้งนี้ เพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ ...
    • การตรวจคัดกรองสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      การตรวจคัดกรองสุขภาพเป็นการซักถามหรือตรวจเบื้องต้น เพื่อค้นหาความเสี่ยงหรือโรคในประชากรสุขภาพดี เพื่อป้องกัน ลดความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค อย่างไรก็ตาม การกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ด้านการตรวจคัดกรองสุขภาพหลายรายการในระบ ...
    • การทบทวนชุดสิทธิประโยชน์และการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ 

      ธีระ ศิริสมุด; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; สุรชัย โกติรัมย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ทรงยศ พิลาสันต์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2557-10)
      ปัจจุบันประเทศไทยมีคนพิการที่ขึ้นทะเบียนคนพิการประมาณ 1.5 ล้านคน และยังมีคนพิการจำนวนมากที่เข้าไม่ถึงบริการหรือสวัสดิการของรัฐ เช่น ไม่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ ทั้งที่มีความจำเป็น การที่คนพิการเข้าไม่ถึงบริการสุขภาพ ...
    • การทบทวนวรรณกรรมการจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย 

      สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      การวิจัยด้านสุขภาพมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน แต่ค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัยค่อนข้างสูงในขณะที่ทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด จึงจำเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการ รวมถึงการจัดลำดับความสำคัญของงานวิจัยด้ ...
    • การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ในกลุ่มคนงานก่อสร้าง: การวิจัยเพื่อวางแผนการสื่อสารด้านสุขภาพ 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; เชิญขวัญ ภุชฌงค์; ทรงยศ พิลาสันต์; กัลยา ตีระวัฒนานนท์; ศิริญญา ธีระอนันต์ชัย; รุ่งนภา คำผาง; รักมณี บุตรชน; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Jomkwan Yothasamut; Choenkwan Putchong; Songyot Pilasant; Kanlaya Teerawattananon; Sirinya Teeraananchai; Roongnapa Khamphang; Rukmanee Butchon; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพในกลุ่มคนงานก่อสร้างทั้งในระดับบุคคลและชุมชน รวมถึงมาตรการสร้างเสริมสุขภาพที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนามาตรการเหล่านั ...
    • การประเมินการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธีนุช ตั้งสถิตย์กุลชัย; Suteenoot Tangsathitkulchai; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; เพียร เพลินบรรณกิจ; Pien Pleonbannakit; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การศึกษานี้สนใจศึกษางบประมาณ 4 ส่วนที่เกิดจากวิธีการจัดสรรของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้แก่ งบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อเร่งรัดการเข้าถึงบริการ เพื่อชุดสิทธิประโยชน์ เพื่อการดำเนินงานในชุมชน ...
    • การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 

      วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี ...
    • การประเมินความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนความรู้และค้นหามาตรการคัดกรองโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมองในระดับประชากร โดยรวบรวมข้อมูลแนว ...
    • การประเมินระบบข้อมูลและรายงานสุขภาพนักเรียนในงานบริการอนามัยโรงเรียนระดับประถมศึกษา: กรณีศึกษาสองจังหวัดในประเทศไทย 

      นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; อรพรรณ โพธิหัง; Orapan Phothihang; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; Naiyana Praditsitthikorn; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขได้ร่วมกันดำเนินโครงการ “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านสุขภาพควบคู่ไปกับการศึกษา โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำ ...
    • การประเมินระบบบริหารจัดการการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย 

      วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย (National Health Examination Survey: NHES) ในประเทศไทย เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 และดำเนินการเรื่อยมาทุก 5 ปี การสำรวจนี้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 2 วิธีหลัก ได้แก่ ...
    • การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กุนที พลรักดี; Kunnatee Ponragdee; อรรถวิทย์ ยางธิสาร; Atthawit Yangtisan; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; สุพัฒศิริ อึ้งมณีภรณ์; Supatsiri Uengmaneeporn; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)
      ความแออัดของโรงพยาบาลรัฐบาลขนาดใหญ่ที่ทำให้ผู้ป่วยรอรับบริการนานเป็นปัญหาเรื้อรังในระบบสุขภาพไทย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของผู้ป่วย ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงสาธารณสุขประกาศนโยบายลดความแออัดในโรงพยาบาลใหญ่โดยใช้ ...
    • การมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายของผู้มีส่วนได้เสียจากการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาในประเทศไทย 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; โชติรส ละอองบัว; Chotiros Laongbua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เมื่อ พ.ศ. 2549 และ 2550 รัฐบาลไทยประกาศใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาด้านเอชไอวีและยาสลายลิ่มเลือดรวม 3 รายการ. นโยบายดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้ป่วยที่รับการรักษาพยาบาลในภาครัฐเข้าถึงยามากขึ้น ซึ่งเป็นไปตามมาตรการยืดหย ...
    • การศึกษาการขยายบริการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดในประเทศไทย: ความเป็นไปได้ ต้นทุน และความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ 

      ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittibovorndit; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พิทยาพล ปีตธวัชชัย; Pittayapon Pitathawatchai; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การได้ยินเป็นพื้นฐานสำคัญของการพูดและพัฒนาการทางภาษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอายุ 3 ปีแรกของชีวิต หากเด็กมีความผิดปกติทางการได้ยินจะส่งผลกระทบโดยตรงกับพัฒนาการด้านการพูดและภาษารวมถึงการเข้าสังคม การเรียน ภาวะจิตใจ ความจำ ...
    • การศึกษาการเข้าถึงและความเป็นไปได้ในการจัดบริการการให้คำปรึกษาเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในโรงพยาบาล 

      สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; สลักจิต ชื่นชม; Salakjit Chuenchom; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; จิตติ วิสัยพรม; Jitti Wisaiprom; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08)
      การให้คำปรึกษาเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ เป็นการช่วยบุคคลให้เผชิญกับผลที่เกิดจากความพิการโดยการให้คำปรึกษาด้านส่วนตัว การแพทย์ การศึกษา สังคม อาชีพ และเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อช่วยให้คนพิการหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจ ...
    • การศึกษาทรัพยากรที่จำเป็นสำหรับให้บริการอนามัยโรงเรียนระดับประถมศึกษาในประเทศไทย 

      อรพรรณ อ่อนจร; Orapan Onjon; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittirachakool; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; Naiyana Praditsitthikorn; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ในประเทศไทยมีการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กวัยเรียนผ่านโครงการอนามัยโรงเรียนโดยความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิกับโรงเรียน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทรัพยากรในการให้บริการอนามัยโรงเรียนร ...
    • การสร้างขีดความสามารถสำหรับการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; อดุลย์ โมฮารา; Adun Mohara; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ลัดดา ดำริการเลิศ; Ladda Damrikarnlerd; สุวรรณี ละออปักษิณ; Suwannee Laoopugsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การสร้างขีดความสามารถของการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพนั้นมีความสำคัญในการสนับสนุนให้เกิดศักยภาพที่จำเป็นสำหรับการบรรลุเป้าหมายทางด้านสุขภาพที่ตั้งไว้ ปัจจุบันการวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพส่วนหนึ่งประสบกับปัญหาอันเนื่องมาจากผ ...