Browsing สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) by Subject "Quality of Life"
Now showing items 1-20 of 29
-
การจัดทำแผนที่ความเสี่ยง การติดตามการปนเปื้อนและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของชุมชน จากมลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟ้าถ่านหินตกสะสมในสิ่งแวดล้อม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)งานวิจัยนี้พัฒนาเครื่องมือและระบบข้อมูลเพื่อเก็บข้อมูล หลักฐาน สำหรับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนต่อสุขภาพและการประกอบอาชีพของประชาชน โดยใช้ประชาชน 8 หมู่บ้าน ในตำบลห้วยโก๋นและตำบลขุนน่าน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ... -
การทำความเข้าใจความต้องการใส่ฟันทดแทนของผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาด่านเกวียน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การสูญเสียฟันอาจมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตอย่างไม่ตรงไปตรงมานัก การสำรวจสุขภาพช่องปากแห่งชาติครั้งล่าสุดพบว่า ผู้สูงอายุที่ทันตแพทย์แนะนำให้ใส่ฟันทดแทน มีเพียงจำนวนครึ่งหนึ่งเท่านั้นที่มารับบริการใส่ฟัน แม้จะมีการสนับส ... -
การประเมินผลตอบแทนทางสังคม (SROI) ของการดำเนินงาน ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.): กรณีศึกษา พชอ. 4 แห่ง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)โครงการประเมินผลตอบแทนทางสังคม (SROI) ของการดำเนินงานภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.): กรณีศึกษา พชอ. 4 แห่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคม (Social Return On Investment: SROI) การดำเนินงานก ... -
การพัฒนาระบบการจัดการบริการอาชีวอนามัยเพื่อคุณภาพชีวิตของบุคลากรโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)บุคลากรโรงพยาบาลต้องเผชิญสิ่งคุกคามสุขภาพที่แตกต่างกันไปตามลักษณะการทำงานและสภาพแวดล้อมในการทำงาน แต่การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรในโรงพยาบาลภาครัฐของประเทศไทยอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ และในทางปฏิบัติพบว่ามีมาตรฐานแน ... -
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน จังหวัดน่าน ประเทศไทย กรณี มลพิษข้ามพรมแดนจากโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา ประเทศลาว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ชุมชนในอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน กำลังเผชิญกับความเสี่ยงมลพิษข้ามพรมแดนจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน ขนาด 1,878 เมกกะวัตต์ ตั้งอยู่ที่เมืองหงสา แขวงไซยะบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่ชายแดนติดกับจังหวัดน่านของประเทศไทย การที่โรงไฟฟ้าไป ... -
การพัฒนารูปแบบการบริบาลและการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุระดับปฐมภูมิในสังคมปกติวิถีใหม่: ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูประบบสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)การพัฒนารูปแบบการบริบาลและการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุระดับปฐมภูมิในสังคมปกติวิถีใหม่ ถือเป็นความท้าทายของประเทศเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงอายุสุดขีด (Hyper-aged society) ในอีก 9 ปีข้างหน้า การออกแบบนวัตกรรมการบริบาลและการรักษ ... -
การพัฒนารูปแบบการฟื้นฟูสมรรถภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนโดยชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการฟื้นฟูสมรรถภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน โดยการศึกษาประสบการณ์ชีวิต กระบวนการและกลไกทางสังคมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของผู้ประสบปัญห ... -
การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดการสุขภาพเพื่อป้องกันโรคและจัดการความเสี่ยงในกลุ่มอาการลองโควิดสำหรับกลุ่มคน 608 ในชุมชนเชิงบูรณาการระหว่างระบบบริการปฐมภูมิและคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตและประสิทธิผลของระบบบริการทางการแพทย์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)โครงการวิจัยนี้เป็นการวิจัยพัฒนารูปแบบ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินผลลัพธ์จากการดูแลผู้ป่วยด้วยระบบการแยกกักตัวที่บ้าน 2) พัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดการสุขภาพเพื่อป้องกันโรคและจัดการความเสี่ยงในกลุ่มอาการลองโควิด สำหรับกลุ่มคน ... -
การพัฒนาและใช้ระบบข้อมูลเฝ้าระวังชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมต่อการรับมือกับปัญหามลพิษข้ามพรมแดน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาและใช้ระบบข้อมูลเฝ้าระวังชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมต่อการรับมือกับปัญหามลพิษข้ามพรมแดน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิต เศรษฐกิจชุมชนและข้อมูลสุขภาพชุมชน รวมถึงเพื่อศึกษาทรัพยากรชุมชนและปร ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายโดยใช้วิธีแบบจำลองมาร์คอฟ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)บทนำ : ในปัจจุบันการล้างไตด้วยวิธี Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) บรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ของสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในขณะที่วิธี Automated Peritoneal Dialysis (APD) มีค่าใช้จ่ายที่สูงและยังไม่บรรจ ... -
การศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของนวัตกรรมการสร้างงานเพื่อยกระดับความสามารถในการดูแลสุขภาวะของชุมชนภายใต้สถานการณ์โรคอุบัติใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้มีจำนวนผู้ว่างงานมากขึ้น เป็นผลมาจากการที่สถานประกอบการหยุดดำเนินการหรือลดจำนวนพนักงาน จึงก่อให้เกิดการตกงาน การลดเวลาทำงานส่งผลให้รายได้และเงินออมของแรงงานลดลง ทำให้เกิดความเครียด ... -
การศึกษาคุณภาพชีวิตและผลลัพธ์ทางคลินิกในการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09-30)บทนำ : การล้างไตผ่านทางช่องท้อง (Peritoneal Dialysis, PD) เป็นการบำบัดทดแทนไตตัวเลือกส่วนใหญ่สำหรับผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Kidney Disease, ESKD) ซึ่ง Automated Peritoneal Dialysis (APD) เป็นวิธีล้า ... -
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตแพทย์และพยาบาลห้องฉุกเฉินในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ในเขตพื้นที่ EEC
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)โควิด-19 แพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง พบผู้ติดเชื้อสูงขึ้นโดยเฉพาะพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor; EEC) เป็นเขตพื้นที่ควบคุมสูงสุด กลายเป็นมหาวิกฤติทางสาธารณสุข ซึ่งแพทย์และพยาบาลห้องฉุกเฉินเป็นด่ ... -
การศึกษาปัญหาสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้าง ในภาคเหนือ พ.ศ.2537-2538 : การศึกษาเชิงปริมาณ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)การศึกษาปัญหาสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้าง ในภาคเหนือพ.ศ.2537-2538 : การศึกษาเชิงปริมาณการศึกษาครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการร่วมมือวิจัยปัญหาดังกล่าว ทั่วประเทศ โดยใช้โครงร่างการวิจัยเดียวกันใช้แบบฟอร์มและวิธีการ ... -
การศึกษาปัญหาสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้าง ในเขตเทศบาลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ปี พ.ศ.2537-2538
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539) -
การศึกษาเชิงนโยบายใน 10 ปีข้างหน้าต่อการเข้าถึงการบริการสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดปทุมธานี ในสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ระลอก 5
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ส่งผลกับการให้บริการของสถานพยาบาลทุกระดับ มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการบริการ ผู้สูงอายุมีการรับรู้ที่จำกัดเกี่ยวกับระบบริการสุขภาพ และเมื่อเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายจากการประเมินผลตอบแทนทางสังคมของระบบการจัดการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายจากการประเมินผลตอบแทนทางสังคมของระบบการจัดการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคม (Social ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)ภูมิหลัง: อำเภอเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพตามแนวคิดพื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care: PHC) ตามปฏิญญาอัลมา อะต้า ค.ศ. 1978 และปฏิญญาอัสตานา ... -
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุไทยในช่วงการระบาดของโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ในปัจจุบันที่ประชากรทั่วโลกต้องเผชิญ การประกาศมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตในวิถีชีวิตใหม่ อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามกา ... -
การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เขตสุขภาพที่ 8 เพื่อสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิ ภายใต้สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)การศึกษาการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เขตสุขภาพที่ 8 เพื่อสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิ ภายใต้สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงสำรวจ ...