แสดงรายการ 861-880 จาก 5446

    • ผลการวิเคราะห์ต้นทุนรายโรค ระยะที่ 1 ปีที่ 3 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      ข้อมูลต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมบริการทางการแพทย์ เป็นข้อมูลพื้นฐานสำคัญในการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยของชุดการบริการและข้อมูลต่อหน่วยของรายโรค ซึ่งเป็นฐานข้อมูลสำคัญประกอบการคำนวณอัตราจ่ายของกองทุนประกันสุขภาพทุกกองทุน ...
    • รายงานการศึกษาสาเหตุการตายของกลุ่มตัวอย่างในการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; วรางคณา จันทร์คง; Warangkana Chankong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ข้อมูลทางสุขภาพที่บ่งชี้ปัญหาทางสุขภาพของประชาชนได้ดีข้อมูลหนึ่งคือข้อมูลสาเหตุการตาย อย่างไรก็ตามคุณภาพข้อมูลนี้ โดยเฉพาะความถูกต้องของการวินิจฉัยสาเหตุการตาย ที่ผ่านมายังมีช่องว่างให้พัฒนาอยู่อีกมาก ทั้งในส่วนที่มีการต ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาร้านยาคุณภาพที่เป็นหน่วยร่วมบริการกับคลินิกหมอครอบครัว 

      สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; วัชรพงษ์ รินทระ; Watcharapong Rintara; อุษณีย์ วนรรฆมณี; Usanee Wanakamanee; ชวนชม ธนานิธิศักดิ์; Chuanchom Thananithisak; พจนาลัย อนุสรณ์พาณิชกุล; Podjanalai Anusornpanichakul; เพ็ญทิพา แก้วเกตุทอง; Pentipa Kaewketthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      บทนำ: การทำงานของคลินิกหมอครอบครัวมีข้อจำกัดคือเภสัชกรไม่เพียงพอ ร้านยาที่เป็นหน่วยร่วมบริการสามารถช่วยเติมเต็มระบบการทำงานด้านเภสัชกรรมให้สมบูรณ์ขึ้น วิธีการวิจัย: วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 14 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2563 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 14 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2563 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการเรื่อง เรียนรู้วิจัยระบบและนโยบายสุขภาพของไทยและโลกจากโควิด-19 โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 6 บทความ ได้แก่ 1) ...
    • เรียนรู้วิจัยระบบและนโยบายสุขภาพของไทยและโลกจากโควิด-19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การระบาดของโรคโควิด-19 ที่เริ่มจากผู้ป่วยรายแรกที่เมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน เดือนธันวาคม ค.ศ. 2019 ส่งออกเข้าสู่ไทยเป็นประเทศแรกเดือนมกราคม ค.ศ. 2020 จนถึงสิ้นปี มีผู้ติดเชื้อ 80 ล้านคน ใน 191 ประเทศ มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น ...
    • บทเรียนจากการป้องกันและควบคุมการระบาดของโควิด-19: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองอ่างทอง 

      รุ่งทิวา มากอิ่ม; Rungtiwa Makim; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      โลกกำลังอยู่ในวิกฤตของการระบาดของโคโรนาไวรัสอุบัติใหม่ หรือโควิด-19 ตั้งแต่การค้นพบการติดเชื้อครั้งแรกที่เมืองหวู่ฮั่น ประเทศจีน ในปลายปี พ.ศ. 2562 โรคมีการระบาดอย่างรวดเร็วไปทั่วโลก การระบาดนี้นับว่ารุนแรงในระดับศตวรรษ ...
    • บทเรียนจากการพัฒนาและนำนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินไปปฏิบัติ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชลพันธ์ ปิยถาวรอนันต์; Chonlaphan Piyathawornanan; อุดม อัศวุตมางกุร; Udom Asawutmangkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      นโยบายส่งเสริมการก้าวเดิน ได้รับการพัฒนาในปี พ.ศ. 2562 โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตามแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573 โดยดำเนินการผ่านโครงการก้าวท้าใจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ...
    • กิจกรรมทางกาย การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง: กรณีศึกษาของ 3 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthrasri; สรศักดิ์ เจริญสิทธิ์; Sorasak Charoensit; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Ruengsom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเด ...
    • ผลลัพธ์ด้านคลินิกและตัวชี้วัดทางกายภาพบำบัดเพื่อการพัฒนามาตรฐานบริการกายภาพบำบัด: การทบทวนวรรณกรรมของการทบทวนอย่างเป็นระบบ 

      สุวารี เจริญมุขยนันท; Suwaree Charoenmukayananta; ประวิตร เจนวรรธนะกุล; Prawit Janwantanakul; คมปกรณ์ ลิมป์สุทธิรัชต์; Khompakorn Limpasutirachata (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การทบทวนวรรณกรรมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ด้านคลินิกและตัวชี้วัดทางกายภาพบำบัดใน 4 สาขา ได้แก่ 1) สาขาระบบกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อต่อ 2) สาขาระบบประสาท 3) สาขาระบบหายใจและไหลเวียนเลือด และ 4) สาขาผู้ป่วยเด็ก ...
    • สถานการณ์การจ้างพยาบาลเกษียณอายุในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 

      วันเพ็ญ แก้วปาน; Wonpen Kaewpan; เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย; Phechnoy Singchongchai; สุรินธร กลัมพากร; Surintorn Kalampakorn; จุฑาธิป ศีลบุตร; Jutatip Sillabutra (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การจ้างพยาบาลเกษียณอายุในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถามผู้บริหารฝ่ายการพยาบาลในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปและ ...
    • การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อป้องกันการสั่งใช้ยาซ้ำซ้อนในโรงพยาบาลมหาสารคาม 

      ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์; Chutimaporn Chaiyasong; พิริยา ติยาภักดิ์; Piriya Tiyapak; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; สถาพร ณ ราชสีมา; Sathaporn Na Rajsima; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การใช้ยาซ้ำซ้อนนับเป็นการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลชนิดหนึ่งซึ่งนอกจากจะส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาจนเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วยแล้ว ยังทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น ปัจจุบันการศึกษาเรื่องก ...
    • การประเมินตนเองของหน่วยบริการปฐมภูมิในการจัดบริการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางสำหรับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Srisornvichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล โครงการวิจัยพัฒนารูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางได้พัฒนาแนวทางการจัดบริการสำหรับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและนำร่องการดำเนินการในคลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster: ...
    • การสอบสวนโรคในภาวะการระบาดของ Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ดำเนินการอย่างไร กรณีศึกษาจากผู้ป่วย COVID-19 รายแรกจากยุโรปในประเทศไทย 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สุทธนันท์ สุทธชนะ; Suthanun Suthachana; ศุภณัฐ วงศานุพัทธ์; Suphanat Wongsanuphat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายกระบวนการสอบสวนโรค coronavirus disease 2019 (COVID-19) ผ่านกรณีศึกษาของผู้ป่วย COVID-19 ที่จังหวัดชลบุรี ซึ่งเป็นผู้ป่วยยืนยัน COVID-19 จากทวีปยุโรปรายแรกในประเทศไทย ผู้ป่วยเป็นชาวอิตา ...
    • ออทิสติก-คนพิเศษ ที่ต้องสังเกตและเข้าใจ 

      แก้วตา นพมณีจำรัสเลิศ; Kaewta Nopmaneejumruslers (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      'ออทิสติก' เป็นโรคที่มีความผิดปกติของพัฒนาการและระบบประสาท ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่ควรจะต้องได้รับการแก้ไขและดูแลอย่างถูกวิธี ซึ่งในเด็กปฐมวัยถือเป็นช่วงวัยที่สมองกำลังมีการพัฒนา อีกทั้งยังรวมถึงพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ ...
    • สถานการณ์การจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบบริการสุขภาพของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 

      รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; วิไล อุดมพิทยาสรรพ์; Wilai Udompittayason; บุบผา รักษานาม; Buppha Raksanam; เบญจวรรณ ช่วยแก้ว; Benjawan Chuaykaew; ศักรินทร์ สุวรรณเวหา; Sakarin Suwanvaha; วาริสา ทรัพย์ประดิษฐ; Warisa Suppradist; นำพร สามิภักดิ์; Numporn Samiphuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      งานวิจัยเรื่อง สถานการณ์การจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบบริการสุขภาพของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ ผลลัพธ์ของการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงานและปัจจั ...
    • การพัฒนากฎหมายสาธารณสุขในการอภิบาลผู้ป่วยจากยาเสพติดในวัยรุ่น 

      อิงครัต ดลเจิม; Ingkarad Doljerm; ธานี วรภัทร์; Thanee Vorapatr; ไพโรจน์ บุญศิริคำชัย; Pairoj Boonsirikumchai; จิรวุฒิ ลิปิพันธ์; Jirawut Lipipun; กอบกูล จันทวโร; Kobgoon Jantawaro; วิเชษฐ์ สินประสิทธิ์กุล; Wichet Sinprasitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-14)
      งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาของผู้ป่วยยาเสพติด ต้องการให้เห็นปัญหาทางกฎหมายที่จะพัฒนาระบบการบำบัดดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในวัยรุ่นที่เป็นปัญหาของประเทศไทย ศึกษาทบทวนและวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายต่างๆ ของประเทศไทย ...
    • การรักษาภาวะขาขาดเลือดขั้นวิกฤติจากโรคเบาหวานโดยการใช้เซลล์ต้นกำเนิด ระยะที่ 1 (ปีที่ 1) 

      ณัฐวุฒิ เสริมสาธนสวัสดิ์; Nuttawut Sermsathanasawadi; ณัฐพล เครือคำหล่อ; Nuttapol Chruewkamlow; วรรณชัย ชินฉลองพร; Wanchai Chinchalongporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-11)
      ภาวะขาขาดเลือดส่วนปลาย (PAD) สามารถพบได้บ่อยในผู้ป่วย atherosclerotic syndrome ซึ่งมีอัตราการตายที่สูงในผู้ป่วยกลุ่มนี้ การรักษาโรคนี้ไม่ว่าจะเป็น PAD หรือผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดขั้นวิกฤติ (Critical limb ischemia (CLI)) ...
    • รายงานประจำปี 2562 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข : สร้างองค์ความรู้สู่การพัฒนาระบบสุขภาพไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      ในปี 2562 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้มีการพัฒนาระบบวิจัยสุขภาพและขับเคลื่อนงานตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข โดยได้มีการทบทวนยุทธศาสตร์ สวรส. พ.ศ. 2560 - 2564 ซึ่งคณะกรรมการ สวรส. เห็นว่ายุท ...
    • แนวทางปฏิบัติที่ดีในผู้ป่วยที่มีเส้นฟอกไต (ปีที่ 3) 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem; ดิเรก บรรณจักร์; Derek Bunnachak; ศุภโชค มาศปกรณ์; Supachok Maspakorn; เติมพงศ์ เรียนแพง; Termpong Reanpang; ชนาวิทย์ สิทธิสมบัติ; Chanawit Sitthisombat; วุฒิกร ศิริพลับพลา; Wuttikorn Siriplubpla (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      จุดประสงค์: จากแนวทางการปฏิบัติแนะนำ (guideline) ทั้งในประเทศและต่างประเทศแนะนำว่าผู้ป่วยที่มีไตวายระยะสุดท้าย การฟอกไตควรทำผ่านเส้น (arteriovenous access ; AVA) โดยไม่ควรมีการแทงสายชั่วคราวมาก่อน (central venous catheter ...
    • ระบบเกมโลกเสมือนจริงสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 

      จักรกริช กล้าผจญ; Jakkrit Klaphajone; ปกรณ์ วิวัฒน์วงศ์วนา; Pakorn Wivatvongvana; นพพล ชูศรี; Noppon Choosri; ปฏิสนธิ์ ปาลี; Patison Palee; ศุภรา กรุดพันธ์; Supara Grudpan; ศิรประภา วัฒนากุล; Siraprapa Wattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ในการบำบัดฟื้นฟูผู้ป่วยตามหลักการเวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการฝึกปฏิบัติออกกำลังกล้ามเนื้ออย่างเต็มที่ ปัญหาของการบำบัดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหรือการบาดเจ็บสมองที่พบบ่อย ได้แก่ ...