แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การสำรวจการสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

dc.contributor.authorวิไลลักษณ์ หมดมลทินen_US
dc.contributor.authorWilailuck Modmoltinen_US
dc.contributor.authorพรชัย สิทธิศรัณย์กุลen_US
dc.contributor.authorPornchai Sithisarankulen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2008-09-19T08:46:58Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:20:01Z
dc.date.available2008-09-19T08:46:58Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:20:01Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551) : 226-231en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/100en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามส่งทางไปรษณีย์ ในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึง ธันวาคม 2550 กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 950 ตัวอย่าง ที่สุ่มเลือกได้โดยวิธีลำดับชั้น และการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย อัตราตอบกลับร้อยละ 56.0 (532 ราย) ผลการศึกษาแสดงว่าส่วนใหญ่มีการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในระดับปานกลางร้อยละ 54.5 ไม่มีโครงสร้างกอง/ส่วนสาธารณสุขในองค์กรร้อยละ 62.8 มีนโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพร้อยละ 51.7 โดยนโยบายที่ระบุมานั้นพบว่าเป็นนโยบายที่แท้จริงเพียงร้อยละ 7.5 ร้อยละ 95.7 มีการจัดทำแผนงาน/โครงการด้านสร้างเสริมสุขภาพ และร้อยละ 89.5 มีการสนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ฯลฯ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพให้หน่วยงานอื่น การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและนำมาปรับปรุงแก้ไขมีเพียงร้อยละ 38.9 ส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับการสนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์และงบประมาณร้อยละ 78.0 และ 61.7 ตามลำดับ แต่เคยได้รับการสนับสนุนด้านสื่อและองค์ความรู้ร้อยละ 70.3 และ 65.4 ตามลำดับ ส่วนใหญ่ต้องการการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร้อยละ 97.9 โดยต้องการการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ร้อยละ 94.0, 91.0 และ 89.5 ตามลำดับ ปัญหา/อุปสรรคที่พบคือ การไม่มีบุคลากรในองค์กรที่รับผิดชอบงานสาธารณสุขโดยตรง การขาดงบประมาณและการขาดองค์ความรู้ ข้อเสนอแนะ ควรมีการประสานเชิงนโยบายในระดับกระทรวง วางหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการประเมินผลผ่านคณะกรรมการสุขภาพในพื้นที่ให้เป็นแนวทางเดียวกันทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล ในส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรกำหนดให้มีโครงสร้างกอง/ส่วนสาธารณสุข และจัดทำข้อบัญญัติด้านการสร้างเสริมสุขภาพ จัดอบรมเพื่อเพิ่มวิสัยทัศน์ให้แก่ผู้บริหาร ส่วนหน่วยงานสาธารณสุขสนับสนุนงบประมาณและบุคลากรให้เพียงพอ ควรส่งเสริมให้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองให้มากขึ้น ให้คำแนะนำและเป็นที่ปรึกษาด้านการสร้างเสริมสุขภาพให้กับท้องถิ่นอย่างเข้มแข็งจริงจังth_TH
dc.format.extent175073 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการสำรวจการสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นen_US
dc.title.alternativeA Survey of Health Promotion of Local Administrative Organizationsen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive study was to explore health promotion processes of Local Administrative Organizations (LAOs). Data were collected by using mail questionnaires from May to December 2007. The subjects were 950 executives of LAOs obtained by stratification and simple random sampling. Five hundred and thirty-two LAOs responded to the questionnaires (56.0 %). The results showed that the scores of LAOs’ health promotion processes were at a moderate level (54.5 %). The majority of LAOs did not have a division of public health in their organization’s structure (62.8 %), had a health promotion policy (51.7 %) but the specified policy constituted a real policy for only 7.5 percent of them, had health promotion plans/projects (95.7%), and supported budgets and materials for other institutes for health promotion processes (89.5%). However, health promotion processes were evaluated and used for improvement in only 38.9 percent of the LAOs. The majority of LAOs did not receive materials and budgets from other institutes in 78.0 and 61.7 percent, respectively, but did receive mass media and knowledge in 70.3 and 65.4 percent of them, respectively. The LAOs needed support from the Thai Health Promotion Foundation, National Health Security Office and Provincial Public Health Offices in 94.0, 91.0, and 89.5 percent, respectively. Major problems in the health promotion processes of LAOs were a lack of public health personnel, budget and knowledge of health promotion. The recommendations from this research are to integrate policies at the ministerial level, and to set the standards of health processes and evaluation in the same direction for all provinces, districts and subdistrict. The LAOs should establish a division of public health in their structure, enact local legislation concerning health promotion, support budget and health personnel, and train the leaders of LAOs about the vision of health promotion. Moreover, public health organizations should promote self-care, give advice and vigorously act as advisor of the LAOs in terms of health promotion.en_US
dc.subject.keywordการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subject.keywordองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นen_US
dc.subject.keywordHealth Promotionen_US
dc.subject.keywordLocal Administrative Organizationen_US
.custom.citationวิไลลักษณ์ หมดมลทิน, Wilailuck Modmoltin, พรชัย สิทธิศรัณย์กุล and Pornchai Sithisarankul. "การสำรวจการสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/100">http://hdl.handle.net/11228/100</a>.
.custom.total_download956
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year96
.custom.downloaded_fiscal_year13

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n2 ...
ขนาด: 175.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย