แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พุทธศักราช 2546 ที่หน่วยงานสาธารณสุขอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

dc.contributor.authorรัตนา ยอดอานนท์en_US
dc.contributor.authorRatana Yodanonten_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2008-09-19T08:54:37Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:23:10Z
dc.date.available2008-09-19T08:54:37Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:23:10Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551) : 241-247en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/102en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มีต่อบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุพุทธศักราช 2546 ที่หน่วยงานสาธารณสุขในเขตอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ด้านการควบคุมป้องกันโรค และด้านการบริการและการรักษา โดยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ 200 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างเชิงกลุ่ม และการสุ่มแบบง่ายจากผู้สูงอายุเขตอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 14,135 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้สูงอายุและความพึงพอใจของผู้สูงอายุจำแนกตามเพศ อาชีพ และที่อยู่อาศัย โดยใช้การทดสอบที จากการศึกษาพบว่าความพึงพอใจของผู้สูงอายุโดยรวมและความพึงพอใจด้านการป้องกันโรค อยู่ในระดับมาก (3.51–4.50, ค่าพี = 0.05) ด้านการบริการและการรักษาอยู่ในระดับปานกลาง (2.51-3.50, ค่าพี = 0.005) เมื่อเปรียบเทียบด้านบริการและการรักษายังอยู่ในระดับปานกลาง ดังนั้น หน่วยงานควรพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมด้านบริการและการรักษา ในเรื่องการตรวจสุขภาพฟันทุกปี การตรวจสุขภาพประจำปีอย่างต่อเนื่อง การดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุ การจัดช่องทางพิเศษสำหรับให้บริการตรวจรักษาผู้สูงอายุ และจัดสถานที่หอผู้ป่วยที่เหมาะสมและปลอดภัยในการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุ ทั้งนี้เพื่อให้เข้าถึงเจตจำนงของการให้บริการสาธารณสุขของรัฐอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมต่อไปth_TH
dc.format.extent166864 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พุทธศักราช 2546 ที่หน่วยงานสาธารณสุขอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมาen_US
dc.title.alternativeSatisfaction with Medical and Public Health Services of the Elderly Attending the Public Health Unit of Pakchong District, Nakhon Ratchasima Province, According to the 2003 Act on Thai Older Personsen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeAccording to the 1997 Constitution of the Kingdom of Thailand, all Thai people’s rights are protected. Particularly, older adults have the right to access health-care services equally as other populations. Therefore, the Thai Government passed the 2003 Act on Thai Older Persons as law. The purpose of this study was to describe the satisfaction of older persons with medical and health-care services, according to the 2003 Act on Thai Older Persons, as those services relate to the Public Health Unit of Pakchong District, Nakhon Ratchasima Province regarding disease prevention, medical services, and medical treatment. The study sample consisted of 200 older persons recruited by cluster random sampling and simple random sampling from a total of 14,135 older adults in Pakchong District, Nakhon Ratchasima Province. A structured interview was used to collect the data, which were analyzed with descriptive statistics and t- test. The results revealed that the majority of the sample had a high level of satisfaction with overall services and with services on disease prevention (3.51-4.50, p = 0.05), while they had a moderate level of satisfaction with medical services and medical treatment (2.51-3.50, p = 0.05). In addition, non-significant differences in overall satisfaction with medical and health-care services between males and females, occupation (government officer/non-government officer), and dwelling location (municipal/non-municipal) were found. The results of this study are expected to provide useful information for health-care providers in improving medical/health-care services for older persons, such as annual dental care service, annual physical examination, elderly club activities, special-track services, and environmental safety. These services should be established to serve the needs of older persons fairly according to the goal of the 2003 Act on Thai Older Persons.en_US
dc.subject.keywordผู้สูงอายุen_US
dc.subject.keywordพระราชบัญญัติผู้สูงอายุen_US
dc.subject.keywordบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขen_US
dc.subject.keywordOlder Personsen_US
dc.subject.keyword2003 Act on Thai Older Personen_US
.custom.citationรัตนา ยอดอานนท์ and Ratana Yodanont. "ความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พุทธศักราช 2546 ที่หน่วยงานสาธารณสุขอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/102">http://hdl.handle.net/11228/102</a>.
.custom.total_download1464
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month15
.custom.downloaded_this_year380
.custom.downloaded_fiscal_year33

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n2 ...
ขนาด: 167.7Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย