Show simple item record

Thai Private Hospital Business during 2000-2003 : Policy Recommendation for Sustained Development

dc.contributor.authorธเรศ กรัษนัยรวิวงค์th_TH
dc.contributor.authorTares Krassanairawiwongen_US
dc.contributor.authorเพ็ญแข ลาภยิ่งth_TH
dc.contributor.authorPhenkhae Lapyingen_US
dc.contributor.authorศิริเกียรติ เหลียงกอบกิจth_TH
dc.contributor.authorSirikiat Liangkobkiten_US
dc.contributor.authorสมหญิง สายธนูth_TH
dc.contributor.authorSomying Saithanuen_US
dc.contributor.authorศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์th_TH
dc.contributor.authorSiriwan Pitayarangsariten_US
dc.contributor.authorวีระศักดิ์ พุทธาศรีth_TH
dc.contributor.authorWeerasak Putthasrien_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2008-09-19T09:02:19Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:23:01Z
dc.date.available2008-09-19T09:02:19Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:23:01Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551) : 248-262en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/103en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย โดยมีผลกระทบทางลบน้อยที่สุดต่อสาธารณสุขของประเทศ การศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา 2 ระยะ ระยะที่ 1 โดย 1) การทบทวนวรรณกรรมด้านการพัฒนาการธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนและผลกระทบ นโยบายรัฐบาลและการกำกับของหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ 2) เก็บข้อมูลทรัพยากรและการบริการของโรงพยาบาลเอกชน โดยส่งแบบสอบถามถึงโรงพยาบาลเอกชนกลุ่มตัวอย่างในทุกภาค (แบ่งตามจำนวนเตียงเป็น 3 ระดับ คือ น้อยกว่า 50, 50-100 และมากกว่า 100 เตียง) ที่มีข้อมูลบริการในช่วง พ.ศ. 2543-2546 ซึ่งได้รับข้อมูลที่สมบูรณ์ 56 แห่งจากที่ส่งไป 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 93.33 ; 3) วิเคราะห์ข้อมูลการเงินของโรงพยาบาลเอกชนที่ตอบกลับ โดยใช้ข้อมูลจากกระทรวงพาณิชย์ ร่วมกับข้อมูลจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระยะที่ 2 การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย โดยเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์และจัดประชุมระดมสมอง 2 ครั้ง เมื่อเดือนตุลาคม 2548 ในประเด็นทิศทางและแนวโน้มของโรงพยาบาลเอกชน ผลกระทบ และมาตรการนโยบายที่เป็นไปได้ ข้อค้นพบสำคัญจากการศึกษาสรุปได้ดังนี้ การเติบโตอย่างรวดเร็วของธุรกิจนี้เกิดขึ้นใน 3 ทศวรรษที่ผ่านไป โดยสัมพันธ์ในทางเดียวกับภาวะเศรษฐกิจประเทศ เกิดจากนโยบายรัฐที่ส่งเสริมการลงทุนของเอกชน ผลประกอบการในช่วง พ.ศ. 2543-2546 พบว่ารายได้ของโรงพยาบาลในภูมิภาคมีแนวโน้มสูงขึ้น โรงพยาบาลขนาดใหญ่มีอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้สูงกว่าขนาดเล็ก โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานครมีอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้มากกว่าโรงพยาบาลขนาดเดียวกันในภูมิภาค ดังนั้น ควรมีมาตรการในการกำกับ 3 มิติ คือ ค่าบริการ ปริมาณและการกระจายของบริการและคุณภาพบริการ การพัฒนาโครงสร้างของระบบกำกับดูแลควรเป็นการผนวกบทบาทในส่วนที่ทำงานร่วมกันได้ของคณะกรรมการต่างๆ ซึ่งมีโครงสร้างคณะกรรมการระดับชาติที่เกี่ยวกับสุขภาพอยู่หลายชุด ภายใต้กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม และอื่นๆ แทนการพัฒนาโครงสร้างใหม่ การพัฒนาระบบกำกับควรค่อยเป็นค่อยไปโดยภาครัฐอาจเป็นผู้เริ่มแสวงหาความร่วมมือประสานกับองค์กรอื่นๆ ที่สำคัญควรเน้นความสำคัญที่การสื่อสารสาธารณะเพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจของประชาชน ซึ่งจะเป็นผู้กระตุ้นโรงพยาบาลเอกชน ที่สำคัญกว่าการบังคับใช้กฎหมายใดๆth_TH
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย พ.ศ. 2543-2546 : ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนen_US
dc.title.alternativeThai Private Hospital Business during 2000-2003 : Policy Recommendation for Sustained Developmenten_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis study was carried out with the intention of obtaining and providing knowledge in developing policy to promote the growth of private hospitals with least negative effect on government health care. By studying the literature about private hospital segments and the impact of government policy together with questionnaires sent to most private hospitals in Thailand about their resources and services back to five years previoustly, the financial resources of the hospitals were analyzed using the data from the Ministry of Commerce and the Stock Exchange of Thailand. Quantitative data obtained by interviews were also analyzed. From these processes, we found that the rapid growth of private hospitals during the past three decades has a strong relationship with the economic status of the country. The Government’s investment promotion policy has had both negative and positive impacts on the income of hospitals. Largescale hospitals earn more income than small-scale hospitals. Hospitals in Bangkok earn more income than hospitals in rural areas. Three factors, namely price, quantity and quality, together with quality assurance by the Ministry of Public Health, the National Health Security Office and the Social Security Office synergized the working process to reform the health infrastructure of Thailand.en_US
dc.subject.keywordโรงพยาบาลเอกชนไทยen_US
dc.subject.keywordPrivate Hospitalen_US
dc.subject.keywordDeveloping Sustained Policyen_US
.custom.citationธเรศ กรัษนัยรวิวงค์, Tares Krassanairawiwong, เพ็ญแข ลาภยิ่ง, Phenkhae Lapying, ศิริเกียรติ เหลียงกอบกิจ, Sirikiat Liangkobkit, สมหญิง สายธนู, Somying Saithanu, ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์, Siriwan Pitayarangsarit, วีระศักดิ์ พุทธาศรี and Weerasak Putthasri. "ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย พ.ศ. 2543-2546 : ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/103">http://hdl.handle.net/11228/103</a>.
.custom.total_download477
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year26
.custom.downloaded_fiscal_year49

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n2 ...
Size: 234.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record