แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การมีส่วนร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะนะ กับศูนย์สวัสดิการสุขภาพ ชุมชนตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

dc.contributor.authorสุภัทร ฮาสุวรรณกิจen_US
dc.contributor.authorSupat Hasuwankiten_US
dc.contributor.authorมณฑา ถิระวุฒิen_US
dc.contributor.authorMontha Thirawuthien_US
dc.contributor.authorวิจัย ยานวิมุติen_US
dc.contributor.authorWichai Yanwimuten_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2008-09-19T09:08:59Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:17:04Z
dc.date.available2008-09-19T09:08:59Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:17:04Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551) : 263-273en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/104en_US
dc.description.abstractการสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเป็นหัวใจของการขับเคลื่อนสุขภาวะในชุมชน จากหลักการดังกล่าวร่วมกับบริบทของตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ที่มีองค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง จึงเหมาะสมในการพัฒนาตัวแบบการมีส่วนร่วมในระบบสุขภาพในรูปแบบ "กองทุนสุขภาพชุมชนระดับตำบล" วิธีการศึกษามี 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการสร้างตัวแบบโดยเก็บข้อมูล เพื่อทราบทุนทางสังคม, สถานภาพขององค์กรต่างๆ ในชุมชน และสร้างตัวแบบโดยกระบวนการสนทนากลุ่ม ระยะที่ 2 เป็นขั้นตอนการปฏิบัติการจริงให้เกิด "กองทุนสุขภาพชุมชน" และมีการประเมินรูปแบบการบริหารจัดการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการศึกษาแสดงว่าทุกภาคส่วนเห็นด้วยกับแนวความคิดในการจัดตั้งกองทุนสุขภาพตำบลน้ำขาว โดยการร่วมระดมทุนจากทั้ง 3 ภาคส่วน คือ องค์การการเงินและกลุ่มต่างๆ ของชุมชน เช่น กลุ่มสัจจะออมทรัพย์, ภาคส่วนสาธารณสุข และภาคส่วนองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น เงินสมทบจากองค์กรการเงินชุมชนนั้นเป็นการสร้างความรู้สึกร่วมในการเป็นเจ้าของกองทุนที่สำคัญยิ่ง คณะกรรมการของกองทุนฯ ประกอบด้วยบุคคลจากทุกภาคส่วนเป็นกรรมการ มีการใช้กระบวนการจัดทำแผนสุขภาพตำบลแบบมีส่วนร่วมเป็นกลยุทธ์ในการจัดสรรงบประมาณของกองทุนฯ ซึ่งทำให้แผนงานของกองทุนฯ มีมิติการสร้างเสริมสุขภาวะที่กว้างกว่ามิติสาธารณสุข ในขั้นตอนของการดำเนินการจริงตามตัวแบบที่ได้มา ได้มีตั้งกองทุนขึ้นใน พ.ศ. 2550 โดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สนับสนุนงบประมาณให้ 37.5 บาทต่อรายหัวประชากร เป็นเงิน 140,287 บาท องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำขาวได้สมทบเงินปีละ 100,000 บาท, กลุ่มสัจจะออมทรัพย์สนับสนุน 14,000 บาท และเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอจะนะ (CUP จะนะ) จะโอนเงินสมทบอีก 100,000 บาท ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการทำแผนสุขภาพตำบลน้ำขาว เพื่อรองรับการจัดสรรเงินกองทุนฯ ในการสร้างสุขภาพในตำบลน้ำขาวth_TH
dc.format.extent246440 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการมีส่วนร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะนะ กับศูนย์สวัสดิการสุขภาพ ชุมชนตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeParticipation in Community Health Assurance : A Case Study of Chana Hospital, Chana District, Songkla Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeCommunity participation is an essential strategy for improving community health in the context of Namkao Subdistrict, which has strong community organizations was considered suitable as a model for the development of a participatory community health fund at the subdistrict level. The study was divided into two periods: the first for formulating a model by collecting data about the existing social fund and the situation of organizations in the community, and the second for assessing the real operations of the Namkao community health fund and evaluating the administration processes designed. The results showed that all three sectors (community sector including groups of community savings organizations, health-care sector and subdistrict administrative organizations) agreed with establishing the fund. The contribution from the community sector is the key to community ownership of the fund. The community health fund board consisted of people from every sector. Approval for budgets of any projects is considered by its linkage to the Namkao health plan in that it would have a wider perspective of health than a bio-medical model. For the second step, the Namkao community health fund was established in 2007; a contribution was provided by the National Health Security Office, which funded 37.5 baht per capita every year (about 140,287 baht in 2007), while the local government provided 100,000 baht, the community sector 14,000 baht and the health-care sector 100,000 baht. Currently, the community is developing a community healthplan for allocating budget to health-promoting projects. The participatory process is the core concept in establishing community health. A community health fund at the subdistrict level is an important participative strategy that can support real operations. This innovation promoted the concept of good health, which should not be limited to health organization staff only but a task shared by everyone.en_US
dc.subject.keywordการมีส่วนร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพen_US
dc.subject.keywordกองทุนสุขภาพชุมชนen_US
dc.subject.keywordแผนสุขภาพระดับตำบลen_US
dc.subject.keywordParticipation in Health Security Systemen_US
dc.subject.keywordCommunity Health Funden_US
dc.subject.keywordCommunity Health Planen_US
.custom.citationสุภัทร ฮาสุวรรณกิจ, Supat Hasuwankit, มณฑา ถิระวุฒิ, Montha Thirawuthi, วิจัย ยานวิมุติ and Wichai Yanwimut. "การมีส่วนร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจะนะ กับศูนย์สวัสดิการสุขภาพ ชุมชนตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/104">http://hdl.handle.net/11228/104</a>.
.custom.total_download689
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year81
.custom.downloaded_fiscal_year10

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n2 ...
ขนาด: 245.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย