Show simple item record

ทางสองแพร่งของผู้ต้องขังกับการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข

dc.contributor.authorสมศักดิ์ ธรรมธิติวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2008-12-04T04:16:07Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:00:34Z
dc.date.available2008-12-04T04:16:07Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:00:34Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.citationวารสารการวิจัยระบบสาธารณสุข. 6,1 (2541) : 53-65en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1114en_US
dc.description.abstractสถานการณ์ทางสองแพร่งของผู้ต้องขัง (Prisoner's Dilemma) ในบริบทของการจัดหาเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขในบทความนี้ หมายถึง สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อผู้กำหนดนโยบายในการจัดหาทรัพยากรของสถานบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขต่างตัดสินใจอย่างเป็นอิสระจากกัน ซึ่งผลที่เกิดขึ้นทำให้สถานบริการต้องเสียประโยชน์ไปเมื่อเทียบกับการที่สถานบริการหันหน้าเข้าหากัน เพื่อร่วมมือกันหรือตัดสินใจร่วมกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดก็คือ การแข่งขันมีเทคโนโลยีไว้ใช้ในโรงพยาบาลเอกชน ซึ่งเป็นกลยุทธ์การแข่งขันกันโดยไม่ใช้ราคาอันก่อให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดี เพราะทำให้เกิดการใช้เทคโนโลยีที่ซ้ำซ้อน และทำให้ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์โดยรวมสูงขึ้น นอกจากนั้นยังก่อให้เกิดผลทางลบต่อสวัสดิการสังคมด้วย คำถามจึงอยู่ที่ว่า จะทำอย่างไร หรือมีปัจจัยใดที่จะช่วยให้สถานบริการเกิดความร่วมมือกันเพื่อให้หลุดพ้นจากสถานการณ์นี้ได้en_US
dc.format.extent1057773 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.languageThaien_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.titleทางสองแพร่งของผู้ต้องขังกับการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขen_US
dc.identifier.callnoJV6N1-6en_US
dc.identifier.contactnoHSRI Journalen_US
.custom.citationสมศักดิ์ ธรรมธิติวัฒน์. "ทางสองแพร่งของผู้ต้องขังกับการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1114">http://hdl.handle.net/11228/1114</a>.
.custom.total_download1142
.custom.downloaded_today3
.custom.downloaded_this_month25
.custom.downloaded_this_year53
.custom.downloaded_fiscal_year99

Fulltext
Icon
Name: jv6n1-6.pdf
Size: 1.008Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record