Show simple item record

Review of decentralization in health during 2542-2550 BE

dc.contributor.authorปรีดา แต้อารักษ์en_US
dc.contributor.authorPreeda Tae-araken_US
dc.contributor.authorนิภาพรรณ สุขศิริen_US
dc.contributor.authorรำไพ แก้ววิเชียรen_US
dc.contributor.authorกิรณา แต้อารักษ์en_US
dc.contributor.authorNiphapan Suksirien_US
dc.contributor.authorRampai Kaeowwichianen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:17:44Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:18:24Z
dc.date.available2008-12-04T05:17:44Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:18:24Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1178en_US
dc.description.abstractจากการทบทวนพบว่า การดำเนินการถ่ายโอนงานสาธารณสุขล่าช้า ขาดการเตรียมความพร้อมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อบจ.) ยังไม่มีโครงสร้างการบริหารงานสาธารณสุขขอองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ชั้น 1 และเทศบาล เท่านั้นที่มีส่วนสาธารณสุขรองรับ เมื่อวิเคราะห์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการรองรับการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข จุดแข็งคือผู้บริหารมีความรู้ความสามารถมากขึ้น สนใจการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนมากขึ้น งบประมาณมีมากขึ้น มีความคล่องตัว รู้ปัญหาของประชาชน บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ โอนย้ายเข้าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น องค์กรไม่ซับซ้อนจัดระบบการตรวจสอบทำได้ง่าย จุดอ่อน คือ มีข้อสงสัยเรื่องความไม่โปร่งใส บุคลากรที่มีอยู่เดิมยังขาดทักษะและประสบการณ์ในการดำเนินงานด้านสาธารณสุข อบต.ส่วนใหญ่ยังไม่มีส่วนงานสาธารณสุข สำหรับโอกาส คือ การเปลี่ยนแปลงระบบหลักประกันสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ (โดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)) การปฏิรูประบบสุขภาพ เกื้อหนุนต่อการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับพื้นที่ การตรวจสอบการทำงานของท้องถิ่นโดยองค์กรอื่นหรือภาคประชาชนจะทำได้ง่ายกว่าการบริหารโดยส่วนกลางที่ตรวจสอบได้ยาก ส่วนอุปสรรค คือ รัฐบาลไม่ให้ความสำคัญกับเรื่องกระจายอำนาจอย่างจริงจัง ผู้ว่า CEO จะเป็นโครงสร้างการปกครองที่อาจขัดแย้งกับการปกครองท้องถิ่นในระดับจังหวัดได้ ขาดความร่วมมือจากข้าราชการประจำในระดับต่างๆ บุคลากรด้านสาธารณสุขส่วนใหญ่ยังไม่มั่นใจข้อเสนอ ต้องมีกรอบแนวคิดชัดเจน ดังนี้ 1) การให้อำนาจในการตัดสินใจแก่ท้องถิ่น 2) ประสิทธิภาพและเอกภาพเชิงระบบ 3) ความเป็นธรรมทางสุขภาพ 4) ธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ 5) การมีส่วนร่วมและการตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน และ 6)การจัดความสัมพันธ์ระหว่างท้องถิ่นกับรัฐบาล กระทรวงสาธารณสุข จะต้องปรับเปลี่ยนบทบาทไปเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ผู้กำกับดูแลและเสนอแนะ รวมทั้งให้การสนับสนุนและบริการทางวิชาการแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสถานีอนามัยในสังกัดอปท. ในขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะเป็นผู้จัดบริการสาธารณะแก่ประชาชนในพื้นที่โดยตรง ต้องกำหนดรูปแบบระบบบริการสาธารณสุขที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ การดำเนินการต้องไม่ทำในรูปแบบเดียวกันทั้งประเทศและถ่ายโอนตามความพร้อม กำหนดบทบาทองค์กรต่างๆ ให้ชัดเจน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถดำเนินการได้ในหลายระดับ เช่น 1) การสนับสนุนการจัดบริการ 2) การจัดระบบบริการเอง และ 3) การซื้อบริการจากหน่วยบริการ ควรมีการจัดตั้งกลไกการบริหารระบบสาธารณสุขแบบมีส่วนร่วมจากพหุภาคี ที่มีส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยบริการและภาคประชาชน ต้องพัฒนาศักยภาพและสร้างความพร้อมแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขให้สามารถสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี ปรับปรุงระเบียบกฎหมาย ถ่ายโอนสถานบริการพร้อมประเมินผลควบคู่ไปด้วย ในการกำกับติดตามและประเมินผล ต้องยึดเอาวัตถุประสงค์ของการกระจายอำนาจ เรื่องความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ มีธรรมาภิบาล มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ มาตรฐานและประชาชนมีความ พึงพอใจสำหรับการศึกษาวิจัย มีประเด็นที่ควรดำเนินการ คือ ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ รูปแบบและต้นทุน ผลกระทบและปัจจัยที่มีผลต่อการบริการสุขภาพ การมีส่วนร่วม บทบาทและความสัมพันธ์ขององค์กรในระบบสุขภาพภายใต้บริบทการกระจายอำนาจ ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพ ด้านระเบียบกฎหมาย การบริหารจัดการ ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวในการจัดบริการสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพและด้านบริหารจัดการระบบสุขภาพen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Decentralizeen_US
dc.subjectHealth Civil Societyen_US
dc.subjectCommunity Health Servicesen_US
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขen_US
dc.subjectประชาสังคมด้านสุขภาพen_US
dc.subjectอนามัยชุมชน, การบริการen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นen_US
dc.title.alternativeReview of decentralization in health during 2542-2550 BEen_US
dc.identifier.callnoWA546 ป471ท [2551]en_US
dc.identifier.contactno50ข061en_US
dc.subject.keywordDecentralizationen_US
dc.subject.keywordPublic Healthen_US
dc.subject.keywordHealth Center transferen_US
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจen_US
dc.subject.keywordสาธารณสุขen_US
dc.subject.keywordถ่ายโอนสถานีอนามัยen_US
.custom.citationปรีดา แต้อารักษ์, Preeda Tae-arak, นิภาพรรณ สุขศิริ, รำไพ แก้ววิเชียร, กิรณา แต้อารักษ์, Niphapan Suksiri and Rampai Kaeowwichian. "ทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1178">http://hdl.handle.net/11228/1178</a>.
.custom.total_download174
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year12
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs1361.pdf
Size: 1.955Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record