Show simple item record

Managing participatory process to development networking for future research of Northern Health Systems Research Management Center

dc.contributor.authorวิลาวัณย์ เสนารัตน์th_TH
dc.contributor.authorWilawan Senaraten_US
dc.contributor.authorชมนาด พจนามาตร์th_TH
dc.contributor.authorสุสัณหา ยิ้มแย้มth_TH
dc.contributor.authorChomnard Potjanamarten_US
dc.contributor.authorSusanha Yimyaemen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:13Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:37:59Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:13Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:37:59Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1157en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1249en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก : รายงานการจัดกระบวนการสร้างแนวร่วมการทำงานของสถานจัดการงานวิจัยระบบสาธารณสุขภาคเหนือในอนาคตth_TH
dc.descriptionภาคผนวก 1 : สังคมภาคเหนือในยุคทักษิโณมิกส์และการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ-48ค007th_TH
dc.descriptionภาคผนวก 2 : สถานการณ์สุขภาพท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมภาคเหนือ-48ค008th_TH
dc.descriptionภาคผนวก 3 : สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบาย, การบริหารและโครงสร้างองค์กรปกครองระดับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในภาคเหนือตอนบน-47ค053th_TH
dc.descriptionภาคผนวก 4 : สถานการณ์สุขภาพในภาคเหนือตอนบน-48ค006th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดเห็นต่อประเด็นสุขภาพ ระบบสุขภาพและพลวัตรทางการเมืองและสังคมเมืองและสังคมใน 8 จังหวัดภาคเหนือ เพื่อกำหนดกรอบทิศทางการวิจัยสุขภาพที่ตอบสนองต่อพลวัตรระบบสุขภาพภาคเหนือ รวมทั้งการประสานให้เกิดความร่วมมือที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาการปรับเปลี่ยนและการใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานเพื่อสร้างให้เกิดกระบวนการสร้างแนวร่วมการทำงานคือ ขั้นตอนที่ 1 จัดประชุมทีมผู้ดำเนินการจัดกระบวนการกับกลุ่มนักวิชาการที่ศึกษาวิจัยประเด็นสุขภาพที่ตอบสนองต่อพลวัตรระบบสุขภาพภาคเหนือใน 2 ประเด็นหลัก ประเด็นแรกคือ สถานการณ์การปรับตัว พื้นที่การดูแลจัดการด้านสุขภาพ ศักยภาพและแนวโน้นอนาคตของการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญๆ ที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของชุมชนและกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในภาคเหนือ ประเด็นที่สองคือสถานการณ์ด้านนโยบาย การบริหารงาน ศักยภาพของโครงสร้างหลักที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ หลังจากประชุมประเด็นหลักทั้ง 2 ประเด็นแล้ว ทำให้ทราบข้อมูลสำคัญของระบบสุขภาพในสังคมภาคเหนือได้ชัดเจนขึ้น ทำให้สามารถกำหนดภาคี/ผู้เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพได้ 3 กลุ่ม อันประกอบด้วย กลุ่มนักวิชาการและนักวิจัย กลุ่มผู้รับผิดชอบในการจัดการดูแลสุขภาพ และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขั้นตอนที่ 2 เป็นการจัดกระบวนการเสวนากลุ่ม ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพทั้ง 3 กลุ่ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาสุขภาพ เพื่อสะท้อนทิศทางการวิจัยที่ตอบสนองต่อพลวัตรระบบสุขภาพภาคเหนือ รวมทั้งการหาแนวทางในการประสานความร่วมมือกับภาคีภาคส่วนต่างๆ โดยแบ่งหัวข้อการเสวนาออกเป็น 3 หัวข้อคือ 1. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของภาคเหนือที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 2. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบาย การบริหารและโครงสร้างการบริหารขององค์กรปกครองระดับภูมิภาคและท้องถิ่นในภาคเหนือตอนบน 3. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือ ผลการเสวนาพบว่า ข้อคิดที่ควรคำนึงในการวิจัยระบบสุขภาพในภาคเหนือมี 9 ประเด็น ได้แก่ 1. ความต่อเนื่องของการทำวิจัยในแต่ละพื้นที่ 2. ความแตกต่างในพื้นที่ 3.การมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น 4. การวิจัยที่เป็นสหสาขา 5. การวิจัยเชิงระบบที่ครอบคลุมทุกมิติ ทุกระดับของระบบสุขภาพ 6. ความเชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงในระดับโครงสร้างอำนาจ 7. การวิจัยเพื่อแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาสุขภาพ 8. การจัดทำชุดโครงการวิจัย 9. การวิจัยเกี่ยวกับความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น ไข้หวัดนก ส่วนข้อคิดประเด็นสุขภาพพบว่า ทุกภาคส่วนควรให้ความร่วมมือเรื่องการพัฒนาองค์ความรู้ในการจัดระบบสุขภาพในอนาคตth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Systemsen_US
dc.subjectHelath Systems Reformen_US
dc.subjectHealth Services Researchen_US
dc.subjectระบบสุขภาพของประชาชนกลุ่มต่างๆen_US
dc.subjectการปฏิรูประบบสุขภาพen_US
dc.subjectบริการสุขภาพ, วิจัยen_US
dc.subjectระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System)th_TH
dc.titleการจัดกระบวนการสร้างแนวร่วมการทำงานของสถานจัดการงานวิจัยระบบสาธารณสุขภาคเหนือในอนาคตth_TH
dc.title.alternativeManaging participatory process to development networking for future research of Northern Health Systems Research Management Centeren_US
dc.identifier.callnoW84.3 ว719ก 2547en_US
dc.identifier.contactno48ค001en_US
dc.subject.keywordระบบสุขภาพภาคเหนือen_US
dc.subject.keywordการวิจัยสุขภาพen_US
dc.subject.keywordความร่วมมือen_US
.custom.citationวิลาวัณย์ เสนารัตน์, Wilawan Senarat, ชมนาด พจนามาตร์, สุสัณหา ยิ้มแย้ม, Chomnard Potjanamart and Susanha Yimyaem. "การจัดกระบวนการสร้างแนวร่วมการทำงานของสถานจัดการงานวิจัยระบบสาธารณสุขภาคเหนือในอนาคต." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1249">http://hdl.handle.net/11228/1249</a>.
.custom.total_download90
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs1157-1.pdf
Size: 260.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record