แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนารูปแบบและผลลัพธ์ของการแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็กแบบบูรณาการและมีส่วนร่วม อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2542-2550

dc.contributor.authorเดชา แซ่หลีen_US
dc.contributor.authorDecha Saeleeen_US
dc.coverage.spatialปัตตานีen_US
dc.coverage.spatialPattanien_US
dc.date.accessioned2008-09-24T11:12:04Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:56:14Z
dc.date.available2008-09-24T11:12:04Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:56:14Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2(เมย.-มิย.2551) (ฉบับเสริม 5) : 1106-1114en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/130en_US
dc.description.abstractปัญหาอนามัยแม่และเด็กเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขโดยเฉพาะในภาคใต้ตอนล่าง การศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กในอำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี และศึกษาผลลัพธ์ของการดำเนินการในปีงบประมาณ 2542-2550 โดยกิจกรรม 3 ด้าน คือ 1) การส่งเสริม การมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น การจัดเวทีประชาคมเพื่อการพัฒนาศักยภาพของชุมชน การหาแนวทางแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็กแบบชุมชนมีส่วนร่วม 2) การเพิ่มการเข้าถึงบริการ เช่น การให้ของขวัญแก่มารคาที่มากลอดในโรงพยาบาล, บริการการแจ้งเกิดพร้อมทำบัตรประกันสุขภาพ 3) การพัฒนาคุณภาพบริการ เช่น การปรับปรุงงานฝากครรภ์และงานห้องคลอดตามมาตรฐานโครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย การอบรมการดูแลหลังคลอดด้วยการนวดแผนไทยและการประคบสมุนไพรให้แก่ผดุงครรภ์โบราณ การจัดมุมสำหรับประกอบพิธีทางศาสนาแก่ทารกแรกคลอดที่โรงพยาบาล ผลลัพธ์การดำเนินงานดูจากการฝากครรภ์ของหญิงมีครรภ์ 4 ครั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และมาคลอดที่โรงพยาบาลไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย) พบว่าการฝากครรภ์ที่ได้มาตรฐานในปีงบประมาณ 2542-2550 คิดเป็นร้อยละ 78.9, 89.0, 93.4, 94, 97.5, 97.5, 98.4, 95.4 และ 98.1 ตามลำดับ และการคลอดกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 52.1, 54.6, 63.7, 72.4, 81.5, 91.8, 97.1, 97.5 และ 97.6 ตามลำดับ การศึกษานี้ได้เสนอรูปแบบการดำเนินการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการแก้ปัญหาแบบวางแผน ดำเนินการ ประเมินผล ปรับแก้ข้อบกพร่อง และการแก้ปัญหาแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชนth_TH
dc.format.extent185604 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบและผลลัพธ์ของการแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็กแบบบูรณาการและมีส่วนร่วม อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2542-2550en_US
dc.title.alternativeDevelopment and outcome of an integrated participatory model for maternal and child health, Kahpo district, Pattani province, 1999-2007en_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeMaternal and child health is a major health concern in the lower reaches of southern Thailand. This action research was aimed at developing an integrated, participatory model for solving problems related to maternal and child health in Kapho district, Pattani Province. The model incorporated several activities, namely promoting community participation through, for example, participatory community development for solving problems related to maternal and child health; increasing access to maternal care through, for example, promoting the delivery of newborns in the hospital by providing incentives for the pregnant women and traditional birth attendants (TBAs); and improving the quality of maternal care through, for example, developing antenatal care clinic (ANC) and laborroom services to meet with the safe motherhood project standard, the arrangement of a place for Muslim ceremonies for the newborn in the hospital, training TBAs about postpartum care, including ancient Thai massage and hot herbal compression. The outcomes were assessed by ANC visits at least four times and delivery in the hospital in comparison to the Department of Health standard of 90 percent of such visits and deliveries. During the period from 1999 to 2007, the results clearly demonstrated continuous improvement. In that period, the percentages of pregnant women attending ANC at least four times were 78.9, 89.0, 93.4, 94, 97.5, 97.5, 98.4, 95.4 and 98.1, respectively. The percentages of pregnant women delivering in the hospital were 52.1, 54.6, 63.7, 72.4, 81.5, 91.8, 97.1, 97.5 and 97.6, respectively. This study has shown a successful model of maternal and child health problem-solving using the Plan-Do-Check-Act process, multidisciplinary integration and community participation.en_US
dc.subject.keywordการดูแลหลังคลอดen_US
dc.subject.keywordผดุงครรภ์โบราณen_US
dc.subject.keywordบูรณาการen_US
dc.subject.keywordการมีส่วนร่วมen_US
dc.subject.keywordIntegrated Participatory Modelen_US
dc.subject.keywordTraditional Birth Attendanten_US
dc.subject.keywordMaternal-child Health Centeren_US
.custom.citationเดชา แซ่หลี and Decha Saelee. "การพัฒนารูปแบบและผลลัพธ์ของการแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็กแบบบูรณาการและมีส่วนร่วม อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2542-2550." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/130">http://hdl.handle.net/11228/130</a>.
.custom.total_download1588
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month25
.custom.downloaded_this_year341
.custom.downloaded_fiscal_year58

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n2 ...
ขนาด: 185.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย