แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินผลระบบการดูแลเด็กและเยาวชนสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนแห่งหนึ่งในประเทศไทย

dc.contributor.authorสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:55Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:47:01Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:55Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:47:01Z
dc.date.issued2546en_US
dc.identifier.otherhs1039en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1338en_US
dc.description.abstractการประเมินผลการพัฒนาระบบการดูแลเด็กและเยาวชนสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนแห่งหนึ่งในประเทศไทยครั้งนี้ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อประเมินกระบวนการพัฒนาระบบการดูแลเด็กและเยาวชนรวมทั้งการเรียนรู้กระบวนการพัฒนาระบบและกระบวนการปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งเป็นการศึกษาระยะยาวร่วมกับการศึกษาภาคตัดขวางโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ การประเมินผลโครงการใช้การประเมินด้วยเทคนิค Auto-Evaluation และประเมินผลภาพรวมการพัฒนาระบบการดูและเด็กและเยาวชนโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยในการประเมินใช้กรอบแนวความคิดการประเมินตามทฤษฏีระบบ มีปัจจัยนำเข้าได้แก่ โครงสร้างองค์กร นโยบายและงบประมาณ บุคลากรผู้ดูแล เด็กและเยาวชน และสภาพแวดล้อม ผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการดูแลเด็กและเยาวชน ก่อให้เกิดผลลัพธ์ในประสิทธิผลของกระบวนการดูแลเด็กและเยาวชน เด็กได้รับการดูแลอย่างสมศักดิ์ศรี เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน มีศรัทธาในตนเอง รู้สึกมีคุณค่ามีความภาคภูมิใจในตนเอง และเกิดการยอมรับของครอบครัวและชุมชน ผลการวิจัยโดยสรุปมี ดังนี้ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ลงตัวในโครงการสร้างองค์กร มีนโยบายชัดเจนในการปฏิบัติงานบุคลากรในองค์กร มีแรงใจในการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน มีทัศนะต่อเด็กและเยาวชนในทางที่ดีมากขึ้น สิ่งแวดล้อมมีความสะอาด เป็นระเบียบ สวยงาม ก่อให้เกิดสุขภาพจิตที่ดีทั้งเด็กและเยาวชน และบุคลากรผู้ดูแลร่วมคิดร่วมทำให้เกิดผลสำเร็จในการพัฒนา เกิดการยอมรับ และกล้าเผชิญของผู้บริหาร ความร่วมมือกันระหว่างผู้บริหารและบุคลากรในองค์กร สัมพันธภาพที่แน่นแฟ้นของบุคลากรในองค์กร และการยึดมั่นในอุดมการณ์และเป้าหมายในการพัฒนา การพัฒนาจาก”รากหญ้า” สู่ “นโยบาย” เป็นผลจากการมีการปฏิรูประบบราชการทำให้องค์กรมีระบบการบริหารงานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น มีการประสานงานเพื่อการพัฒนาระหว่างกรมสุขภาพจิต และกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน มีการนำจุดเด่นของผลการศึกษาวิจัยไปนำเสนอในกรมและกระทรวง เพื่อให้เกิดโอกาสในการพัฒนามากยิ่งขึ้น รวมถึงการที่บุคลากรมีความตั้งใจจริงและมีความกระตือรือร้นในการพัฒนา องค์ประกอบสำคัญที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาระบบการดูแลเด็กและยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและยาวชนครั้งนี้ คือการประสานความร่วมมือกันระหว่างนักวิจัยและผู้มีส่วนได้เสียในองค์กรการแก้ไขปัญหาจะต้องลงมือปฏิบัติตามแผนการประเมินผลการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนแผนการสรุปผลการปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(สวรส.อ)en_US
dc.format.extent1309842 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectChild Careen_US
dc.subjectChild Rearingen_US
dc.subjectChild Welfareen_US
dc.subjectเด็ก -- การดูแล -- ไทยen_US
dc.subjectเด็ก -- การประเมินผล -- ไทยen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการประเมินผลระบบการดูแลเด็กและเยาวชนสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนแห่งหนึ่งในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of juvenile delinquents care system in the observation and protection center of Ubonrachathanee : action and evaluationen_US
dc.description.abstractalternativeThe evaluation on development of a care system for children and juveniles in a child and juvenile observation and protection center was the final stage of this action research. It aimed to evaluate the development of child and juvenile care system and to assess the changes of the children and juveniles’ behaviors, families, and personnel being in charge of the care, including, learning about development and working process. It was a long-term study cooperated with cross-sectional study of both qualitative and quantitative research methodologies. The project evaluation was carried out by Auto-Evaluation technique. And the holistic assessment on development of child and juvenile care system was accomplished by qualitative and quantitative analysis. In the assessment, the system theory had been followed as a concept paradigm. The inputs were organization structure, policy and budget, care personnel, children and juveniles, and environment conditions. All of these had been being processed participatorily in the development of the child and juvenile care system. It was fruitedly on effectiveness of the child and juvenile care process. They were appropriately well cared. Also, there were some changes of children and juveniles’ behaviors. They had self-reliance, pride, and self-worthiness. As a result, they were well accepted by their families and communities. A conclusion of the research was as follow: 1. There were a lot of better changes in the organization structure. For instances, there were: well-defined policy for jobs, better motivation on running work to meet the objectives, good interrelationships, better attitudes towards children and juveniles, clean, well-ordered and good scenery of environments. 2. The participation in thinking and operation geared to successful development. By the way this resulted from the realization and confronting bravado of the executives, cooperation between the executives and personnel of the organization, tightly relationships of the organizational personnel, and steadily hold to the ultimate goal and the objectives of the development. 3. The development from “grass roots” to “policy” was resulted from government official reform. It made the organization having more clear administration system. There was a cooperative network for development between the Mental Health Department and the Department of Child and Juvenile Observation and Protection. The outstanding aspects of this research were presented in the department and ministry level. As a result, it fostered an opportunity for better development. It could be also motivated the ones who had steadily willingness and active inspiration for development. Important factors helping development of children and juveniles in the Observation and protection Center were:Cooperative participation between the researchers and Organizational stakeholders.To achieve problem solving, operation must follow the plan.Operation evaluation and improvement of the plan.Operation conclusion.Interchanging of learning.en_US
dc.identifier.callnoWA754 ก491 2546en_US
dc.identifier.contactno45ค036en_US
dc.subject.keywordการดูแลเด็กและเยาวชนen_US
dc.subject.keywordสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนen_US
.custom.citationสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. "การประเมินผลระบบการดูแลเด็กและเยาวชนสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนแห่งหนึ่งในประเทศไทย." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1338">http://hdl.handle.net/11228/1338</a>.
.custom.total_download62
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1039.pdf
ขนาด: 1.467Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย