• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

คู่มือการดำเนินงานโรงพยาบาลในกำกับของรัฐ

ศรีราชา เจริญพานิช; Sriracha Charoenparij; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; สุธรรม ปิ่นเจริญ; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Somsak Chunharas; Daniel Kraushaar; Sutham Pinjaroen; Paiboon Suriyawongpaisarn;
วันที่: 2542
บทคัดย่อ
คู่มือการดำเนินงานโรงพยาบาลในกำกับของรัฐ การพัฒนาด้านการสื่อสาร ลดความซับซ้อนของการบริหารจัดการ ส่งเสริมประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการบริหารจัดการโรงพยาบาล การเป็นที่พึ่งของประชาชน พัฒนาการจัดสรรทรัพยากร และการพัฒนาองค์ความรู้ และบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการเมือง ทั้งหมดนี้ต้องการการสร้างความรับผิดชอบการบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลในกำกับของรัฐเภพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ต่อไปนี้ ทำให้การติดต่อสื่อสารได้รับการปรับปรุงดีขึ้น ลดความซับซ้อนในการบริหารก่อให้เกิดการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อให้สาธารณชนเข้าไปตรวจสอบได้มากขึ้นปรับปรุงการบริหาร การจัดสรรทรัพยากร ปรับปรุงการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาในระดับท้องถิ่นบรรลุวัตถุประสงค์ทางการเมืองโดยมีการกระจายอำนาจการตัดสินใจในเรื่องหลัก 6 เรื่อง ดังนี้Strategic management กลยุทธ์ในการบริหารProcurement การจัดซื้อจัดจ้างFinancial management การบริหารการเงินHuman resource management การจัดการทรัพยากรบุคคลAdministration การบริหารทั่วไปClinical governance

บทคัดย่อ
Hospital Autonomy in Thailand: Operations Manual The sharing of economic and administrative power / responsibility between the Ministry of Public Health and autonomous government hospitals would be created to improve communication, reduce administrative complexity, enhance effectiveness and efficiency of hospital management, increase accountability to the public, improve resource mobilization and local knowledge of development priorities and attain political objectives. Six main areas which would be enhanced in case of autonomous hospital should be strategic management, procurement, financial management, human resources management, administration and clinical governance.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs0669.pdf
ขนาด: 5.114Mb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)
Thumbnail
ชื่อ: he0063.pdf
ขนาด: 233.0Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 0
ปีพุทธศักราชนี้: 0
รวมทั้งหมด: 137
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV