Show simple item record

Healthcare system during violent crisis in the three southern border provinces, Thailand

dc.contributor.authorสมนึก ศิริสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorSomnuek Sirisuwanen_US
dc.contributor.authorแจ่มจันทร์ กิมาคมth_TH
dc.contributor.authorวินัย อักษรแก้วth_TH
dc.contributor.authorวิศัย อักษรแก้วth_TH
dc.contributor.authorJamchan Kimakhomen_US
dc.contributor.authorWinai Asonknewen_US
dc.contributor.authorWisai Asonknewen_US
dc.contributor.authorโรงพยาบาลยะลาen_US
dc.contributor.authorYala Hospitalen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:19:50Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:25:26Z
dc.date.available2008-12-04T05:19:50Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:25:26Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifierCoverhs1259en_US
dc.identifier.otherhs1259en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1472en_US
dc.descriptionเอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การจัดการระบบบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภายใต้th_TH
dc.description.abstractการศึกษาผลกระทบต่อบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนใต้ เป็นการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาและเชิงวิเคราะห์ (Descriptive and Analytic Epidemiological Study) ของผลกระทบจากภาวะวิกฤติต่อการให้บริการในสถานบริการทุกระดับของภาครัฐ ประกอบด้วยโรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 4 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 26 แห่ง และสถานีอนามัย 323 แห่ง เก็บข้อมูลจากระบบรายงานและโดยการใช้แบบสอบถาม และได้รับความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามในระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และสถานีอนามัย คิดเป็นร้อยละ 100.0, 75.0, 61.5, และร้อยละ 78.3 ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า ในระดับสถานีอนามัยมีการเปลี่ยนด้านการให้บริการในภาวะวิกฤติ ร้อยละ 35.6 โดยในจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี และจังหวัดยะลา มีการเปลี่ยนแปลงร้อยละ 59.3, 19.5 และ 43.7 ตามลำดับ ซึ่งส่งผลให้ผู้รับบริการระดับสถานีอนามัยลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ผู้ป่วยนอกเฉลี่ย 17,820.1 ครั้งในปี 2546 และ 15,930.4 ครั้งในปี 2547 (Paired t test, P =0.002) นอกจากนั้น ในด้านของผู้ให้บริการพบว่า จำนวนบุคลากรเฉลี่ยต่อสถานีอนามัยในระดับสถานีอนามัยมีแนวโน้มลดลง โดยลดจากจำนวนเฉลี่ย 3.42 คน ในปี 2545 เป็น 3.26 คน ในปี 2547 สำหรับบริการด้านต่างๆ ในระดับโรงพยาบาลพบว่า บริการด้านการรักษา ด้านทันตกรรม ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และการเยี่ยมบ้าน ในการนิเทศติดตาม การสนับสนุนบุคลากรแก่เครือข่าย มีการเปลี่ยนแปลงร้อยละ 25.0, 50.0, 70.0 ,60.0, 60.0 และร้อยละ 55.0 ตามลำดับ ส่งผลให้จำนวนผู้มารับบริการทั้งผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยในแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนั้น ด้านบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย เช่นเดียวกันเมื่อศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพของประชาชนจากการป่วยด้วยโรคเรื้อรังพบว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด และหอบหืดเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในเพิ่มขึ้น ในขณะที่กลุ่มภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรมเข้ารับบริการ เป็นผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (Paired t test, P> 0.05) จะเห็นได้ว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ในครั้งนี้ ส่งผลโดยตรงต่อบริการที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด คือ บริการระดับสถานีอนามัยในขณะที่บริการในระดับโรงพยาบาลได้รับผลกระทบน้อยกว่าth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent192427 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Service Systemsen_US
dc.subjectHealth Servicesen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectอนามัย, บริการen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการศึกษาผลกระทบต่อบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภายใต้th_TH
dc.title.alternativeHealthcare system during violent crisis in the three southern border provinces, Thailanden_US
dc.identifier.callnoWA754 ส253ก 2547en_US
dc.identifier.contactno47ค039-2en_US
dc.subject.keywordการจัดระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordผลกระทบด้านการรับบริการสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordผลกระทบด้านสุขภาพth_TH
.custom.citationสมนึก ศิริสุวรรณ, Somnuek Sirisuwan, แจ่มจันทร์ กิมาคม, วินัย อักษรแก้ว, วิศัย อักษรแก้ว, Jamchan Kimakhom, Winai Asonknew, Wisai Asonknew, โรงพยาบาลยะลา and Yala Hospital. "การศึกษาผลกระทบต่อบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภายใต้." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1472">http://hdl.handle.net/11228/1472</a>.
.custom.total_download121
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year5
.custom.downloaded_fiscal_year8

Fulltext
Icon
Name: hs1259.pdf
Size: 237.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record