แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินผลการพัฒนาระบบบริการห้องคลอดโรงพยาบาลศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี

dc.contributor.authorประพนธ์ เครือเจริญen_US
dc.contributor.authorPrapon Kruacharoenen_US
dc.coverage.spatialอุดรธานีen_US
dc.coverage.spatialUdon Thani provinceen_US
dc.date.accessioned2008-09-24T11:44:41Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:18:45Z
dc.date.available2008-09-24T11:44:41Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:18:45Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2(เมย.-มิย. 2551) (ฉบับเสริม 5) : 1253-1264en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/147en_US
dc.description.abstractการศึกษาเป็นการวิจัยประเมินผลการพัฒนาระบบบริการห้องคลอด ปัญหาในการพัฒนาและแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาระบบบริการห้องคลอดโรงพยาบาลศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี โดยการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพของเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์เชิงลึก การประชุมกลุ่ม การสังเกตุอย่างมีส่วนร่วมและการสังเกตุอย่างไม่มีส่วนร่วม ในช่วงวันที่ 1 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 การศึกษาพบว่ามีการพัฒนาระบบบริการห้องคลอด ได้แก่ 1.การพัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยการจัดทีมสหสาขาวิชาชีพให้บริการห้องคลอด และร่วมกันพัฒนาระบบบริการ จัดให้ทีมไปศึกษาดูงานระบบบริการห้องคลอดโรงพยาบาลกุมภวาปี เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบห้องคลอดที่ดี เพื่อนำมาปรับปรุงพัฒนา ทีมห้องคลอดได้รับการพัฒนาศักยภาพการให้บริการดูแลผู้คลอดและทารกทั้งระยะก่อนคลอด ขณะคลอด หลังคลอด การจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การดูแลทารกแรกคลอด การใช้อุปกรณ์พิเศษของห้องคลอด 2.การปรับปรุงด้านโครงสร้าง มีการแยกห้องรอคลอด โดยแยกการบริการจากผู้ป่วยในหญิงและผู้ป่วยฉุกเฉิน จัดหาวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่จำเป็น 3.การพัฒนากระบวนการให้การดูแล ได้แก่ แนวทางการดูแลผู้คลอดทั้งผู้รับบริการคลอดปรกติ ผู้คลอดที่มีภาวะความดันโลหิตสูง และการดูแลผู้คลอดและทารกที่คลอดก่อนถึงโรงพยาบาล รวมทั้งได้จัดทำคู่มือในการดูแลตนเองและทารก เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมหลังกลับบ้าน หลังการพัฒนาพบว่าระดับความพึงพอใจของผู้คลอดเพิ่มจากร้อยละ 75.2 เป็นร้อยละ 88.4 ไม่มีการตายของผู้คลอดและทารกจากการคลอด และภาวะแทรกซ้อนของผู้คลอดลดลง ปัญหาอุปสรรคที่พบในการพัฒนาระบบ ได้แก่ ผู้ให้บริการบางคนยังไม่คุ้นเคยกับแนวทางการปฏิบัติในการดูแลผู้คลอดปรกติ และผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยง ยังบันทึกการปฏิบัติไม่ครบถ้วนนัก และไม่มีระบบการติดตามสนับสนุนการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สมควรมีการอบรมการใช้แนวทางการดูแลบริการคลอดแก่ผู้ให้บริการ ปรับปรุงให้เข้าใจง่าย ติดตามให้มีการบันทึกการดูแล มีการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบต่อเนื่องen_US
dc.format.extent311376 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการประเมินผลการพัฒนาระบบบริการห้องคลอดโรงพยาบาลศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานีen_US
dc.title.alternativeEvaluation of the labor unit system development of Srithat hospital, Udon Thani provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis evaluation research was aimed at assessing the results of service system development of the Labor Unit of Srithat Hospital, Udon Thani, and its problems and providing a basis for making recommendations for the further development of the Labor Unit. The qualitative data were obtained from relevant document reviews, in-depth interviews, participatory and non-participatory observations, from October 1, 2007 to February 29, 2008. It was revealed that the Labor Unit had improved its service system in both process and outcome as follows: (1) Capacity-building. The administrators assigned multidisciplinary staff members to the Labor Unit. A staff member visited Kumpawapee Hospital, the model hospital, to gain insight into the Labor Unit’s service system development. The Unit organized training for staff to improve the quality of care for pre-labor, labor, post partum, newborn, discharge plan and special equipment applications; (2) Facility improvement. There was also structural development in that the pre-labor attending room was separated from the Inpatient and Emergency Units. Essential equipment was procured and allocated to the unit; (3) Process improvement. Three service practice guidelines were developed by the multidisciplinary team to ensure good quality of care for both normal and high-risk labor. The three practice guidelines were (a) care map for intra-partum and immediate post-partum care: low risk, (b) pregnancy-induced hypertension (PIH) care practices guidelines and (c) birth-before-admission practices guidelines. A post-partum and newborn care handbook was also developed and distributed to mothers before they were discharged from the unit in order to educate them on how to look after themselves and their children. The results of improving the system were satisfactory. Client satisfaction with the services of the Labor Unit increased from 75.2 percent to 88.4 percent. There was no infant and maternal death. Maternal complications also decreased. Problems encountered in developing the Labor Unit service system were unfamiliarity with the practice guidelines of staff for both normal and high-risk labor. Reporting on the care given to patients was still incomplete. Recommendations for further development included training on applications of the service practice guidelines, simplifying the practice guidelines, monitoring the reporting and establishment of continuous and systematic evaluation of the performance of the Labor Unit.en_US
dc.identifier.callno0858-9437en_US
dc.subject.keywordการพัฒนาระบบบริการห้องคลอดen_US
dc.subject.keywordห้องคลอดen_US
dc.subject.keywordการประเมินผลen_US
dc.subject.keywordโรงพยาบาลศรีธาตุen_US
dc.subject.keywordService System Developmenten_US
dc.subject.keywordEvaluationen_US
.custom.citationประพนธ์ เครือเจริญ and Prapon Kruacharoen. "การประเมินผลการพัฒนาระบบบริการห้องคลอดโรงพยาบาลศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/147">http://hdl.handle.net/11228/147</a>.
.custom.total_download3961
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month38
.custom.downloaded_this_year1122
.custom.downloaded_fiscal_year124

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n2 ...
ขนาด: 308.5Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย