• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

แนวทางการใช้ยารักษาโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา

จำลอง ดิษยวณิช; Chumlong Disayawanich; มานิต ศรีสุรภานนท์; Manit Srisurapanont; คณะทำงานเพื่อพัฒนา PTRS Guideline; PTRS Guideline Working Group;
วันที่: 2542
บทคัดย่อ
แนวทางการใช้ยารักษาโรคจิตเภทที่สนองต่อการรักษาโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาเป็นปัญหาที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคจิตเภทปัญหานี้ก่อให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างมากต่อสังคม เนื่องจากจนถึงปัจจุบันยังไม่แนวทางการรักษาโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองคณะทำงานเพื่อพัฒนาแนวทางการรักษาโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาจึงเสนอที่จะพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติทางคลินิกที่อิงหลักฐานทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยารักษาโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาคณะทำงานเพื่อพัฒนาแนวทางรักษาฯประกอบด้วยจิตแพทย์ 11 ท่าน, นักจิตวิทยา 1 ท่าน และเภสัชกร 1 ท่าน คณะทำงานได้ทำการค้นหาบทความใน MEDLINE เพื่อหาบทความที่เกี่ยวข้องซึ่งตีพิมพ์ในช่วงปี ค.ศ.1966-1998 หลักฐานทางวิชาการจาก 163 บทความได้ถูกสกัดและจัดลำดับโดยอาศัยระบบที่ปรับปรุงจากระบบที่ใช้โดย Agency for Health Care Policy and Research(AHCPR) ความหนักแน่นของคำแนะนำได้ถูกแบ่งออกเป็น A, B และC ผลการศึกษาพบว่าสำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อยารักษาโรคจิตดั้งเดิม แพทย์ควรเปลี่ยนยารักษาโรคจิตชนิดดั้งเดิมตัวแรกเป็นยารักษาโรคจิตชนิดดั้งเดิมตัวที่สองซึ่งอยู่ในกลุ่มที่ต่างไปจากยาตัวแรก(A)ผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาที่เหมาะสมด้วยยารักษาโรคจิตเภทอย่างน้อยสองตัว ควรได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาซึ่งกำลังได้รับยารักษาโรคจิตในขนาดสูง (อย่างน้อย 50 mg/วันของยา haloperidol หรือเทียบเท่า) แพทย์ควรใช้วิธีลดขนาดยาลง(B)สำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาที่กำลังได้รับยารักษาโรคจิตในขนาดปกติแพทย์ควรคำนึงถึงการให้ยา clozapine ก่อนเป็นอันดับแรก(A) และหากผู้ป่วยไม่ตอบสนองกับยา clozapine แพทย์ควรเพิ่มยารักษาโรคจิตชนิดดั้งเดิมหนึ่งตัว โดยเฉพาะยา sulpiride(A) และยา loxapine(B) ยา risperidone เป็นยาที่ควรคำนึงถึงในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาซึ่งปฏิเสธการตรวจเลือดอย่างสม่ำเสมอหรือมีข้อห้ามใช้ยา clozapine (A) แม้ว่ายังไม่มีหลักฐานสนับสนุนการใช้ยา olanzapine (หรือยารักษาโรคจิตชนิดผิดพวกตัวอื่นที่จะมีใช้ในอนาคต)ในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ไม่ตอบสนองต่อทั้งยารักษาโรคจิตชนิดดั้งเดิมและยา risperidone การให้ยา olanzapine(หรือยารักษาโรคจิตชนิดผิดพวกตัวอื่นที่จะมีใช้ในอนาคต) ก็อาจนำมาทดลองใช้ได้หากผู้ป่วยดังกล่าวปฏิเสธการใช้ยา clozapine(C)

บทคัดย่อ
Guideline for the pharmacotheraphy of treatment-resistant schizophreniaObjectives: Treatment-resistant schizophrenia is a common problem in patients with schizophrenia that creates a huge economic burden for society. Since there has not been a guideline for the treatment of TRS, the PTRS Guideline Working Group, therefore, proposed to develop an evidence-based clinical practice guideline for the drug treatment of TRS. Method: The PTRS Guideline Working Group comprised eleven psychiatrists, a psychologist, and a pharmacologist. A MEDLINE search was performed to identify the relevant articles published between 1966-1998. The evidence presented in 163 articles was extracted and graded by the use of a system modified from that of the Agency for Health Care Policy and Research (AHCPR). The strength of recommendations was categorized into A, B, and C. Results: For a schizophrenic patient who does not respond to a classical antipsychotic, physicians should switch from the first classical antipsychotic to the second one, which belongs to a different class (A). A schizophrenic patient who does not respond to at least two adequate trials of classical antipsychotics should be classified as a TRS patient. For a TRS patient who is taking classical antipsychotic in high doses (at least 50 mg/day of haloperidol or its equivalence), a dose reduction strategy may be applied at this stage (B). In a TRS patient who is taking a usual dose of classical antipsychotic, clozapine should be considered as a first-line treatment (A). If a TRS patient does not respond to clozapine, physicians should add a classical antipsychotic to the ongoing clozapine, especially sulpiride (A) and loxapine (B). Risperidone should be considered in a TRS patient who refuses to have regular blood monitoring or have a contraindication for clozapine (A). Although there is no evidence supporting the use of olanzapine (or other atypical antipsychotics that will be available in the future) in a schizophrenic patient who resists both classical antipsychotics and risperidone, giving olanzapine (or other atypical antipsychotics that will be available in the future) may be worth a trial if the TRS patient refuses to take clozapine (C). Discussion: Physicians should regard the PTRS Guideline as a tool for assisting their practice but not for replacing their clinical judgments. Optimal management for a TRS patient requires the integration of medical treatment with psychosocial interventions. Electroconvulsive therapy may be a treatment option for schizophrenic patients who fail to show adequate improvement with classical antipsychotics. The definition of or the set of criteria for TRS still cannot reach a conclusion. In using this guideline, physicians should be aware of its limitations, e.g., the search, the patients' ethnicity, the study cites. Whether this guideline will affect treatment practice remains to be seen.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs0595.PDF
ขนาด: 1.873Mb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 2
ปีพุทธศักราชนี้: 1
รวมทั้งหมด: 148
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV