Tuberculosis situation in four community hospitals in Nakorn Ratchasima province, 2005-2007
dc.contributor.author | สมบัติ ธนานุภาพไพศาล | en_US |
dc.contributor.author | Sombat Thananuparppaisal | en_US |
dc.coverage.spatial | นครราชสีมา | en_US |
dc.coverage.spatial | Nakhon Ratchasima Province | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-24T11:48:56Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:56:37Z | |
dc.date.available | 2008-09-24T11:48:56Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:56:37Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2(เมย.-มิย. 2551) (ฉบับเสริม 5) : 1287-1294 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/151 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ดำเนินการเพื่อศึกษาสถานการณ์และวิทยาการระบาดของวัณโรค จากระบบเฝ้าระวังแบบบูรณาการของโรงพยาบาลชุมชน 4 แห่ง ในจังหวัดนครราชสีมา ในปีงบประมาณ 2548-2550 ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ผู้ป่วยวัณโรคทุกคนที่ขึ้นทะเบียนรักษาในโรงพยาบาล 4 แห่ง คือ โรงพยาบาลโนนสูง.โรงพยาบาลปักธงชัย โรงพยาบาลห้วยแถลง และ โรงพยาบาลสีคิ้ว. การเฝ้าระวังเป็นรูปแบบของโรงพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ บัตรผู้ป่วยนอก บัตรบันทึกการบำบัดวัณโรค (TB 01) ทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค (TB 03) และทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยตรวจเสมหะจากห้องชัณสูตร (TB 04) วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงบรรยายเป็นจำนวน ค่าร้อยละ อัตรา และอัตราส่วน ในภาพรวมทั้ง 4 โรงพยาบาลในช่าง 3 ปี (พ.ศ. 2548-2550) มีอัตราป่วยวัณ โรค 74.3, 1121 และ 81.1 ต่อแสนประชากร. อัตราผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ 64.9, 100.7, 69.0 ต่อแสนประชากร อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวัณโรคเท่ากับ 8.1, 14.0 และ 3.5 รายต่อแสนประชากรตามลำดับ อัตราการรักษาได้ผลร้อยละ 73.5 และอัตราการรักษาหายขาด 53.5 มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วยร้อยละ 4.7, 5.8 และ 11.0 ตามลำดับ ในแต่ละสถานบริการมีอัตราการรักษาสำเร็จและอัตราการตายที่แตกต่างกัน ส่วนหนึ่งที่ผลอย่างมากคือ การติดเชื้อเอชไอวี โดยสถานบริการที่มีผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีมีอัตราการตายสูง (ร้อยละ 44.2) และอัตราการรักษาสำเร็จต่ำ อาชีพที่มีอัตราการรักษาสำเร็จสูง ได้แก่ ข้าราชการ นักเรียน นักศึกษา (ร้อยละ 100) และนักโทษ (ร้อยละ 91.9) เนื่องจากเป็นกลุ่มที่ติดตามง่าย. ผู้ป่วยวัณโรคซึ่งเป็นเบาหวานด้วยมีอัตราการรักษาสำเร็จสูงถึงร้อยละ ๑๐๐ การรักษาระยะสั้นแบบมีผู้กำกับกินยานั้นจะได้ผลมากขึ้นถ้าการกำกับทำโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ซึ่งมีผลทำให้การรักษาหายขาดและการรักษาสำเร็จเพิ่มขึ้นมากกว่าการกำกับโดยญาติ หรือไม่มีผู้กำกับ และมีค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์เท่ากับ 1.33 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ. การทำการกำกับโดยญาตินั้นให้ผลการรักษาสำเร็จไม่แตกต่างโดยนัยสำคัญทางสถิติกับการไม่มีผู้กำกับการกินยา | th_TH |
dc.format.extent | 177137 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | สถานการณ์วัณโรคในโรงพยาบาลชุมชน 4 แห่ง จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2548-2550 | en_US |
dc.title.alternative | Tuberculosis situation in four community hospitals in Nakorn Ratchasima province, 2005-2007 | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The aims of this research were to examine the situation and epidemiology of tuberculosis in four district hospitals in Nakhon Ratchasima Province in fiscal years 2005-2007. All tuberculosis patients registered between October 2004 and September 2007 were selected for the study. The research instruments consisted of OPD card, treatment card, tuberculosis record, and sputum examination record. The data were analyzed by using descriptive statistics. The results showed that prevalence rates were 74.3, 112.1, 81.1 per 100,000 population respectively in 2005-2007. Incidence rates were 64.9, 100.7, 69.0 per 100,000 and mortality rates were 8.1, 14.0,3.5 per 100,000 respectively during that period. The success rate was 73.5 percent and cure rate was 53.5 percent. The percentages of HIV infection in tuberculosis cases were 4.7, 5.8 and 11.0, increasing by year, with a high mortality rate of 44.2 percent. A high success rate was found in the occupation of civil servants (100%), students (100%) and prisoners (91.9%). Tuberculosis cases with diabetes mellitus were also found to have a high success rate (100%). Directly observed therapy (DOT) by health personnel produced a relative risk of 1.33 significance compared with no direct observation. However, DOT, with observation by cousins, showed no significant difference compared with that produced by no direct observation. | en_US |
dc.subject.keyword | วัณโรค | en_US |
dc.subject.keyword | การเฝ้าระวังโรค | en_US |
dc.subject.keyword | การรักษาโรคโดยมีผู้กำกับการกินยา | en_US |
dc.subject.keyword | โรงพยาบาลชุมชน | en_US |
dc.subject.keyword | Tuberculosis | en_US |
dc.subject.keyword | Integrated Tuberculosis | en_US |
dc.subject.keyword | Surveillance System | en_US |
dc.subject.keyword | District Hospital | en_US |
.custom.citation | สมบัติ ธนานุภาพไพศาล and Sombat Thananuparppaisal. "สถานการณ์วัณโรคในโรงพยาบาลชุมชน 4 แห่ง จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2548-2550." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/151">http://hdl.handle.net/11228/151</a>. | |
.custom.total_download | 928 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 4 | |
.custom.downloaded_this_year | 79 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 11 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ