แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 1

dc.contributor.authorจิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์th_TH
dc.contributor.authorJiruth Sriratanabanen_US
dc.contributor.authorสรรธวัช อัศวเรืองชัยth_TH
dc.contributor.authorกฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์th_TH
dc.contributor.authorจเด็จ ธรรมธัชอารีth_TH
dc.contributor.authorภรณี เหล่าอิทธิth_TH
dc.contributor.authorSantawat Asawarueangchaien_US
dc.contributor.authorKin Phongphirunen_US
dc.contributor.authorJadej Thammatachareeen_US
dc.contributor.authorPharanee Laoittien_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:11Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:32:03Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:11Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:32:03Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1131en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1521en_US
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเสนอกรอบคำถามของการวิจัยเบื้องต้น และระยะที่ 2 ซึ่งจะการสำรวจสถานการณ์และข้อคำถามของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเฉพาะผู้ให้และผู้รับบริการ ต่อคุณภาพของระบบบริการสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพในวงกว้างและสรุปกรอบยุทธศาสตร์ของการทำงานวิจัยด้านคุณภาพบริการการดูแลสุขภาพรายงานฉบับนี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาในระยะที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการทำวิจัยที่เกี่ยวกับคุณภาพของบริการที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ ศึกษาประสบการณ์การทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของบริการสุขภาพที่มีในประเทศไทย ตลอดจนศึกษากรณีตัวอย่างของการดำเนินงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของบริการสุขภาพที่มีในต่างประเทศ และเพื่อศึกษาประเด็นที่เป็นปัญหาและข้อสงสัยในด้านคุณภาพของบริการสุขภาพที่ควรมีการศึกษาวิจัยในมุมมองของผู้กำหนดนโยบายและผู้บริหารระบบบริการสุขภาพ นักวิชาการ ที่ปรึกษาโรงพยาบาลและผู้เยี่ยมสำรวจระบบคุณภาพ ตลอดจนผู้ให้บริการสุขภาพ และผู้บริโภคในเบื้องต้น ทั้งนี้ได้ใช้รูปแบบการวิจัยหลายรูปแบบร่วมกัน ได้แก่ การทบทวนฐานข้อมูลวรรณกรรมภายในประเทศและต่างประเทศ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์กลุ่ม การประชุมระดมสมอง และการศึกษาโดยการศึกษาดูงานองค์กรและประเทศที่มีประสบการณ์ประกอบด้วยประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศสหราชอาณาจักร ในช่วงเวลาระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2546 ผลการศึกษาจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพมีความหลากหลายมาก ทั้งในในด้านหัวเรื่อง ความเข้าใจ หลักการ ที่มา การนำไปใช้ประโยชน์ ตลอดจนรูปแบบการวิจัยที่แตกต่างกันไปตามบริบทและมุมมอง คำนิยามเกี่ยวกับคุณภาพมีอยู่มากอาจกำหนดได้แต่กรอบกว้างๆ ขอบเขตเนื้อหามีหลากหลายแง่มุมทำให้อาจสามารถทำได้เพียงตีกรอบโดยกว้างๆ ไว้ เพื่อประโยชน์ในการทบทวน และอ้างอิงได้ตั้งแต่การให้การดูแลสุขภาพของผู้ประกอบวิชาชีพ การจัดบริการต่างๆ องค์กรที่ให้บริการ และระบบบริการสุขภาพ รวมถึงความเชื่อมโยงกับระบบและกลไกต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกันสุขภาพและการพัฒนาด้านที่เกี่ยวข้องกับผู้บริโภคและผู้ซื้อบริการด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent3717789 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectResearch Designen_US
dc.subjectHealth Service Researchen_US
dc.subjectQuality of Health Care--Thailanden_US
dc.subjectQuality of Health Careen_US
dc.subjectการพัฒนาคุณภาพบริการen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectบริการสุขภาพ, วิจัยen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectวิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research)th_TH
dc.titleคำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 1th_TH
dc.title.alternativeQuestions on quality and quality improvement in health care Thailand project : Phase 1en_US
dc.description.abstractalternativeFor some time, quality of health care and services has been the topic of major interests of policy makers, health care administrators, health care providers, and consumers and medias in Thailand, as well as abroad. Quality assurance and improvement has gained importance as one of major mechanisms to ensure health security for the population. Nevertheless, to improve quality of the health services system effectively and efficiently at any of the national, provincial, community or organizational levels, we need information and knowledge to guide improvement directions, as well as to determine improvement processes and techniques. Some may be acquired from others, but the others require research, studying and searching for knowledge within our own country. To date, there is no extensive survey on issues in quality of health care and quality improvement that are worth being set as strategies for research in order to bring about knowledge for sustainable quality improvement of our health care system in the future. This research project comprises two parts. The first part is the review of experiences in researches in quality of health care and setting a preliminary proposal for research question frameworks. The second part is a survey of situations and questions among stakeholders, namely providers and clients, regarding quality of the health services system and quality improvement and a summary of strategies to approach quality of health care research. This report is the presentation of the findings from the first part of the project. The objectives were to review published research articles on quality of health care, study research experience on quality of health care in Thailand, as well as case studies in other countries. In addition, it aimed to explore problems and doubts concerning quality of health services from the perspectives of policy makers, system administrators, academicians, hospital quality consultants, hospital accreditation (HA) surveyors as well as health care providers and clients. A number of research techniques were applied, including literature review, in-depth interviews, focus groups, brainstorm sessions, and study visits at organizations in the United States of America (USA) and the United Kingdom (UK) during February to December 2003. The literature review found that research on quality and quality improvement varied a lot in topics, understanding, principles, rationale, utilization and research designs, depending upon contexts and perspectives. There were many definitions of quality. It could only be defined broadly. The scope of research was wide. Only a general framework could be defined for the benefit of review and reference in the following areas: health care provided by health professionals, service delivery, service organization and health services systems, including linkages to health insurance mechanisms and development of aspects related to consumers and service purchasers.en_US
dc.identifier.callnoW84.3.JT3 จ542ค 2547en_US
dc.identifier.contactno46ค041en_US
dc.subject.keywordResearch Questionsen_US
dc.subject.keywordHealth Care Servicesen_US
dc.subject.keywordQulity Improvementen_US
dc.subject.keywordคำถามการวิจัยen_US
dc.subject.keywordคุณภาพของบริการสุขภาพen_US
.custom.citationจิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์, Jiruth Sriratanaban, สรรธวัช อัศวเรืองชัย, กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์, จเด็จ ธรรมธัชอารี, ภรณี เหล่าอิทธิ, Santawat Asawarueangchai, Kin Phongphirun, Jadej Thammatacharee and Pharanee Laoitti. "คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 1." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1521">http://hdl.handle.net/11228/1521</a>.
.custom.total_download131
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year11
.custom.downloaded_fiscal_year3

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1131.pdf
ขนาด: 2.256Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย