แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการทำพืชเศรษฐกิจขนาดใหญ่ในลุ่มน้ำฝาง จังหวัดเชียงใหม่

dc.contributor.authorมูลนิธิพัฒนาศักยภาพชุมชนth_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:31Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:36:08Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:31Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:36:08Z
dc.date.issued2549en_US
dc.identifier.otherhs1298en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1572en_US
dc.descriptionรายงานผลการศึกษาการกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการทำพืชเศรษฐกิจขนาดใหญ่ในลุ่มน้ำฝาง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.description.abstractนับตั้งแต่ พ.ศ. 2538 เป็นต้นมาเกิดการขยายพื้นที่การผลิตส้มเป็นอย่างมากทั่วทุกภาคของประเทศ รวมถึงในพื้นที่ลุ่มน้ำฝางอันประกอบด้วยพื้นที่ในเขตอําเภอฝาง อําเภอแม่อาย และอําเภอไชยปราการ จ.เชียงใหม่ จากการขยายพื้นที่ปลูกส้มเพื่อการค้าอย่างกว้างขวางในพื้นที่ลุ่มน้ำฝาง ส่งผลให้มีการใช้ทรัพยากรต่างๆ ที่เป็นปัจจัยในการผลิตเพิ่มมากยิ่งขึ้น เช่น น้ำ สารเคมีกําจัดศัตรูพืช แต่เดิมนั้นสิ่งเหล่านี้ก็ได้ก่อให้เกิดปัญหากับชุมชนในลุ่มน้ำฝางไม่น้อย ยิ่งมีการขยายพื้นที่ปลูกส้มอย่างกว้างขวาง ยิ่งทําให้การใช้ทรัพยากรดังกล่าวเพิ่มมากขึ้นไปอีก นอกจากนี้แล้วเนื่องจากไม่มีมาตรการในการจัดแบ่งพื้นที่ทางการผลิตการเกษตรและพื้นที่อยู่อาศัยอย่างชัดเจน จึงพบว่ามีสวนส้มทั้งสวนใหญ่และสวนเล็กหลายสวนยังตั้งอยู่ติดกับพื้นที่อยู่อาศัยอีกด้วย จากการศึกษานี้แม้ว่าความเจ็บป่วยของสุขภาพในด้านร่างกายของผู้ตอบแบบสอบถามจะไม่ชัดเจน เมื่อเทียบกันระหว่างกลุ่มหมู่บ้านที่อยู่ในระยะใกล้เมื่อเทียบกับกลุ่มหมู่บ้านระยะกลางและไกลโดยอาจมีเพียงความเจ็บป่วยทางกายเพียงบางอาการที่มีความชัดเจน เช่น อาการที่เกี่ยวกับโรคผิวหนัง แต่หากพิจารณาประกอบกับสุขภาพในด้านอื่น ตามนิยามสุขภาวะที่หมายรวมถึง สุขภาพทางจิตใจ สังคม สิ่งแวดล้อม และจิตวิญญาณแล้ว จะพบว่ากลุ่มผู้ที่อาศัยอยู่ในระยะใกล้สวนส้ม มีโอกาสที่จะเจ็บป่วยตามนิยามสุขภาวะได้มากกว่ากลุ่มที่อาศัยอยู่ในระยะห่าง ดังนั้น การพิจารณาเพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพอันเกิดจากการทําพืชเกษตรขนาดใหญ่ ในกรณีของสวนส้มนี้จะต้องมีการพิจารณาถึงความเจ็บป่วยที่นอกเหนือไปจากความเจ็บป่วยที่นอกเหนือไปจากความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น หรือสามารถวัดได้ทางกาย โดยจะต้องมีการพิจารณาถึงสุขภาพทางจิตใจ สังคม สิ่งแวดล้อม และจิตวิญญาณดังที่กล่าวไว้แล้วข้างต้นด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent2389129 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Impact Assessmenten_US
dc.subjectEnvironmental Healthen_US
dc.subjectการประเมินผลกระทบทางสุขภาพen_US
dc.subjectสุขภาพ--การประเมินen_US
dc.subjectอนามัยสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleการกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการทำพืชเศรษฐกิจขนาดใหญ่ในลุ่มน้ำฝาง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeFramework and approach for health impact assesment : case study of orange plantations in Fang Watersheden_US
dc.identifier.callnoWA754 ม686ก 2549en_US
dc.identifier.contactno46ค007en_US
dc.subject.keywordHealth Impacten_US
dc.subject.keywordFang Watersheden_US
dc.subject.keywordOrange Plantationsen_US
dc.subject.keywordพืชเศรษฐกิจen_US
dc.subject.keywordผลกระทบทางสุขภาพen_US
dc.subject.keywordสวนส้มen_US
.custom.citationมูลนิธิพัฒนาศักยภาพชุมชน. "การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการทำพืชเศรษฐกิจขนาดใหญ่ในลุ่มน้ำฝาง จังหวัดเชียงใหม่." 2549. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1572">http://hdl.handle.net/11228/1572</a>.
.custom.total_download64
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1298.pdf
ขนาด: 1.473Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย