• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การสังเคราะห์องค์ความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการเรียนรู้และการปรับตัวในการแก้ไขปัญหาเอดส์ของชุมชนในจังหวัดเชียงราย : บทเรียนและประสบการณ์การแก้ปัญหาเอดส์ของภาคเหนือตอนบน

ยิ่งยง เทาประเสริฐ; Yingyong Taoprasert; สวรินทร์ สินสมบูรณ์; ปรีชา แก้วคำปา; กนกพร เดชะ; จิตมณี ก้างออนตา;
วันที่: 2542
บทคัดย่อ
การสังเคราะห์องค์ความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการเรียนรู้และการปรับตัวในการแก้ไขปัญหาเอดส์ของชุมชนในจังหวัดเชียงราย: บทเรียนและประสบการณ์การแก้ไขปัญหาเอดส์ของชุมชนในจังหวัดเชียงราย การศึกษานี้เพื่อสังเคราะห์ประสบการณ์การทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ที่มีความชุกอย่างมากในชุมชนภาคเหนือ ประสบการณ์ที่นำมาวิเคราะห์มาจาก 6 จังหวัดในภาคเหนือ ทั้งที่มาจากการทำงานขององค์กรภาครัฐและเอกชน ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์เป็นข้อมูลทุติยภูมิ เอกสารและรายงานต่างๆของโครงการ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ จากการวิเคราะห์พบว่าการทำโครงการโดยองค์กรแบบเมตริกซ์ที่เป็นการประสานกันระหว่างองค์กรของรัฐ เอกชน และ NGOs ช่วยสนับสนุนให้เกิดระบบที่มีประสิทธิผลขึ้น แกนนำหลักในการเริ่มต้นทำโครงการ อาจเป็นตัวแทนของชุมชนหรือบุคลากรนอกชุมชนที่สมัครใจทำงาน แต่ต้องได้รับการสนับสนุนด้านองค์ความรู้และงบประมาณเพื่อดำเนินโครงการ องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนด้านการเงินบางส่วน หรือทำหน้าที่บริหารจัดการ การสนับสนุนให้มีการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการช่วยสนับสนุนการดำเนินโครงการเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ และได้รับการยอมรับอย่างดีจากชุมชน

บทคัดย่อ
Lessons and Experiences in AIDS Solution of Upper Northern Communities As Northern communities were highly affected HIV/AIDS, many-years experiences from AIDS takling in such communities were picked up to synthesize lessons learned. This study covered the experiences from 6 upper Northern provinces including provincial administrative bodies involved in AIDS programs in both public, private organizations and NGOs, and community organizations. The study was based on secondary data e.g. project documents and various reports on AIDS programs implementation, data from in-depth interview on a number of key informants, data from group participation processes. The study found obvious advantages derived from the development of matrix organizations which were from public, private and NGOs leading to well-cooperative and coordinated system. Core people in communities were the key players to initiate the programs; nevertheless, they must act on their voluntary with sufficient supportive matters like budgets and knowledge either from internal or external communities. Local administrative organizations were the key player while large amount of budgets should be from the public sector via direct allocation to communities or local administrative organizations as the administrative body. Importantly, communities’ knowledge must not be underestimated as they tended to be more practical and acceptable for them.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs0588.pdf
ขนาด: 11.68Mb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 0
ปีพุทธศักราชนี้: 0
รวมทั้งหมด: 72
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV