แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การเฝ้าระวังการเข้าถึงบุหรี่ของเยาวชนอายุตำกว่า 18 ปีโดยอาสาสมัคร ครู ร้านค้าบุหรี่และผู้นำในชุมชนจังหวัดหนองคายปี 2541

dc.contributor.authorบัน ยีรัมย์en_US
dc.contributor.authorBan Yeeramen_US
dc.contributor.authorกัญญภัทร์ ยีรัมย์en_US
dc.contributor.authorวรสิทธิ์ อินธิศักด์en_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:07Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:37:12Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:07Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:37:12Z
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.otherhs0559en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1662en_US
dc.description.abstractการเฝ้าระวังการเข้าถึงบุหรี่ของเยาวชนอายุตำกว่า 18 ปี โดยอาสาสมัคร ครู ร้านค้าบุหรี่ และผู้นำชุมชนในจังหวัดหนองคายปี 2541 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ในพื้นที่ 5 หมู่บ้านของ ต.เซิม อ.โพนพิสัย จ.หนองคาย มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบการเฝ้าระวังและรณรงค์ไม่ให้เยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปีเข้าถึงบุหรี่ ดำเนินงาน 3 ระยะ คือ ระยะแรกสำรวจความคิดเห็นของอสม., ครู, เจ้าของร้านค้าบุหรี่, สมาชิก อบต., เจ้าอาวาสวัด,ตำรวจและนักเรียนที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี เพื่อหาปัจจัยที่เป็นสาเหตุให้เยาวชนเข้าถึงบุหรี่ ระยะที่ 2 จะประชุมระดมความคิดกลุ่มเหล่านี้(ยกเว้นกลุ่มนักเรียน) เพื่อหารูปแบบการเฝ้าระวังและรณรงค์ จากนั้นจะดำเนินการจริงตามที่ตกลงในที่ประชุม ระยะที่ 3 ประเมินผลการเฝ้าระวังและรณรงค์ดังกล่าว ผลการดำเนินงานพบว่า ปัจจัยที่เป็นสาเหตุให้เยาวชนเข้าถึงบุหรี่ คือ ไม่ทราบโทษของบุหรี่ โดยนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยของบุหรี่และกฎหมายที่เกี่ยวข้องระดับปานกลางเป็นส่วนใหญ่ร้อยละ 60.6, ไม่ทราบกฎหมายเกี่ยวกับบุหรี่ โดย อสม., ครู, เจ้าของร้านค้าบุหรี่, สมาชิก อบต., เจ้าอาวาสวัด,ตำรวจและนักเรียน ทราบว่ามีกฎหมายดังกล่าวออกมาบังคับใช้แล้วเพียงร้อยละ 61.5, 62.5, 78.9, 66.7, 33.3, 61.9 และ 67.2 ตามลำดับ นักเรียนเคยซื้อบุหรี่ถึงร้อยละ 79.4 สาเหตุอื่นที่ทำให้เยาวชนเข้าถึงบุหรี่คือ อยากลอง, ครอบครัวมีปัญหา,สูบตามผู้ใหญ่,ไม่มีกิจกรรมนันทนาการ,ไม่มีองค์กรในท้องถิ่นที่ทำหน้าที่รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่อย่างจริงจัง,อิทธิพลจากเพื่อน มีกิจกรรมเฝ้าระวังและรณรงค์ดังนี้ คือ การให้ความรู้เรื่องโรคและโทษพิษภัยของบุหรี่โดย ติดตั้งป้ายผ้า, ติดตั้งป้าย “ห้ามผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี มาซื้อบุหรี่” ที่ร้านค้าบุหรี่ทุกร้าน, แจกแผ่นพับความรู้เกี่ยวกับบุหรี่, ทำสปอตเปิดทางหอกระจายข่าว, ตั้งองค์กรท้องถิ่นขึ้น 3 ชมรม คือ ชมรมเพื่อการไม่สูบบุหรี่ตำบลเซิม ชมรมร้านค้าต้านภัยบุหรี่ ชมรมปอดสะอาดโรงเรียนเซิมพิทยาคม, จัดทำลานกีฬาในวัด ลานกีฬาในโรงเรียน จัดงานลานกีฬา ลานใจ ต้านภัยยาเสพติด, จัดประกวดห้องเรียนปลอดคนสูบบุหรี่ จัดประกวดนักเรียนที่มีสุขภาพสมบูรณ์ ไม่สูบบุหรี่ จัดประกวดภาพวาดรณรงค์ต่อต้านบุหรี่,จัดเทศน์เรื่องโทษของบุหรี่ทุกวันพระ จัดพิธีสาบานตนไม่เกียวข้องกับบุหรี่ รวม 216 คน, ตำรวจตรวจสอบร้านค้าเดือนละ 1 ครั้ง,อบต.ตั้งงบประมาณสนับสนุนการรณรงค์ทุกปี ผลจากการเฝ้าระวังพบว่า นักเรียนทราบกฎหมายบุหรี่เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 26.2 เป็นร้อยละ 44.1 อัตราการสูบบุหรี่ลดลงจากเดิมร้อยละ 31.1 เป็นร้อยละ 20.9 มีผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ในระหว่างโครงการ คิดเป็นอัตราการเลิกสูบร้อยละ 42.5 พฤติกรรมการซื้อบุหรี่ลดลงจากเดิมร้อยละ 79.4 เป็นร้อยละ 45.6 อัตราการสูบบุหรี่ของประชาชนทั่วไปร้อยละ 27.0 เคยสูบแต่เลิกสูบร้อยละ 19.5 รูปแบบและวิธีการรณรงค์เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เยาวชนเข้าถึงบุหรี่ในครั้งนี้ มาจากบุคคลที่อยู่ในพื้นที่จริง ๆ ไม่ใช่เป็นวิธีการที่ผู้วิจัยคิดขึ้นมา ดังนั้นความสำเร็จที่เกิดขึ้นจึงเป็นความสำเร็จที่เกิดจากชุมชนเอง ความต่อเนื่องของโครงการ คงต้องมีการประเมินผลอย่างต่อเนื่องต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent4062103 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคายen_US
dc.subjectNongkhaien_US
dc.subjectหนองคายen_US
dc.titleการเฝ้าระวังการเข้าถึงบุหรี่ของเยาวชนอายุตำกว่า 18 ปีโดยอาสาสมัคร ครู ร้านค้าบุหรี่และผู้นำในชุมชนจังหวัดหนองคายปี 2541en_US
dc.title.alternativeControl of assessibility to cigarette among young people aged under 18 by health volunteer, teacher, cigarette seller and community leader, Nongkhai Province, 1998en_US
dc.description.abstractalternativeA survey on antismoking law compliance in Nongkhai municipal area This quasi-experimental study aimed to find a local preventive-smoking model for the younger group of under 18 year-old. The study was done in 5 villages at Serm Sub-district Ponpisai District, Nongkhai Province, Thailand. Three study-stages was organized; (i) surveying the locals’ altitude (including the group of under 18 year-old), as to search critical smoking accessibility factor, (ii) establishing a meeting(excluding the 18 year-old group) as to achieve a collectively smoking prevention model, and lastly(iii)evaluating such that proposed model. The survey results showed the critical smoking accessibility factor was “no hazard understanding”. Only 60.6 % of the younger understood health hazard and related smoking prohibited law. The health volunteers, teachers, cigarette retailers sub-district members, abbots, polices and students knew new-enforcement smoking law and regulation by only 61.5 %, 62.5 %, 78.9 %, 66.7 %, 33.3 %, 61.9 % and 67.2 % respectively. The result also showed 79.4 % of the students used to buy cigarette. Other smoking accessibility factors were “new try”, broken home, elder-like smoking, no recreation activity available, no rigorous no-smoking campaigns done by local institutions, and lastly, influential from friends. The no-smoking campaigns introduced by the study were through education mediums as smoking causing health-hazards. These were distributed via several means. Such those non-smoking campaigns included “the 18 year-old prohibited” signs adhered at the cigarette shops, leaflet, radio spots, local anti-smoking clubs, playground sport arrangement, healthy student for not smoking competitions, no-smoking classrooms, smoking-hazards warning delivered by abbots, 216 students swore for not smoking, monthly cigarette shops’ inspection by polices and yearly budget put forward for no-smoking campaigns by sub-district administrative offices. The achievement by the study campaigns could have the more number of students getting to know the non-smoking law increased from 26.6% to 44.1%. The smoking rate reduced from 31.1% to 20.9%. Persons who gave up smoking during the campaign project were 42.5%, and buying cigarette habits decreased from 79.4% to 45.6%. General public smoking rate from 27.0% could reduce to finally quit of smoking 19.5%. The model applied by this study was genuinely from grass-root initiatives, any achievements was then originated from community-based practice. On-going activities following the model applied remained next to be evaluated.en_US
dc.identifier.callnoWM290 บ215ร 2542en_US
dc.subject.keywordControl of Assessibility to Cigaretteen_US
dc.subject.keywordCigarettesen_US
dc.subject.keywordCigarette Selleren_US
dc.subject.keywordYoung Peopleen_US
dc.subject.keywordHealth Volunteeren_US
dc.subject.keywordTeacheren_US
dc.subject.keywordCommunity Leaderen_US
dc.subject.keywordบุหรี่en_US
dc.subject.keywordการสูบบุหรี่en_US
dc.subject.keywordร้านค้าบุหรี่en_US
.custom.citationบัน ยีรัมย์, Ban Yeeram, กัญญภัทร์ ยีรัมย์ and วรสิทธิ์ อินธิศักด์. "การเฝ้าระวังการเข้าถึงบุหรี่ของเยาวชนอายุตำกว่า 18 ปีโดยอาสาสมัคร ครู ร้านค้าบุหรี่และผู้นำในชุมชนจังหวัดหนองคายปี 2541." 2542. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1662">http://hdl.handle.net/11228/1662</a>.
.custom.total_download126
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0559.PDF
ขนาด: 3.979Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย