แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การทบทวนศึกษาพันธกิจการปฏิรูประบบสุขภาพในอนาคต : มุมมองจากองค์กรท้องถิ่น ประชาสังคม และทุนทางสังคม

dc.contributor.authorอุทัย ดุลยเกษมth_TH
dc.contributor.authorUthai Dulyakasemen_US
dc.contributor.authorสุริชัย หวันแก้วth_TH
dc.contributor.authorวีระ สมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorทศพล แก้วประพันธ์th_TH
dc.contributor.authorSurichai Hwankaeowen_US
dc.contributor.authorWeera Somboonen_US
dc.contributor.authorThonsapol Kaeowphapanen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:11Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:38:14Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:11Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:38:14Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1118en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1668en_US
dc.descriptionประกอบการจัดทำพันธกิจและวิสัยทัศน์สวรส. 2548-2550 (6 ก.ค. 47)th_TH
dc.description.abstractเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2548 อันเป็นวันที่มีพิธีปิดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนา กรุงเทพมหานคร ผู้ที่เข้าร่วมงานทุกคน และผู้ที่ติดตามข่าวคราวเรื่อง การปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศไทย มีความหวังอย่างเต็มเปี่ยมว่า “ธรรมนูญสุขภาพของคนไทย” หรือ “ร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ" ซึ่งได้ดําเนินการกันมาอย่างแข็งขัน ตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม 2543 จะได้รับการผลักดันให้เป็นกฎหมายในเวลาที่ไม่นานนัก เพราะทั้งประมุขฝ่ายบริหาร (พ.ต.ต. ทักษิณ ชินวัตร) ประมุขฝ่ายนิติบัญญัติ (นายอุทัย พิมพ์ใจชน) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์) ได้กล่าวสอดคล้องต้องกันอย่างหนักแน่นว่า “ร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ” จะถูกผลักดันให้เข้าสู่ขั้นตอนนิติบัญญัติจนออกมาเป็นกฎหมาย แต่ตั้งแต่วันนัั้นจนกระทั่งปัจจุบันนี้ (มิถุนายน 2547) “ร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ" ได้ผ่านขั้นตอนเพียงได้ รับความเห็นชอบในหลักการของคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี (นายจาตุรนต์ ฉายแสง) เป็นประธาน (เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2546) เท่านั้น ตามขั้นตอนที่ควรจะเป็น หลังจากที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลั่นกรองฯ คณะที่ 3 แล้ว พระราชบัญญัติฉบับนี้ ควรจะได้รับการพิจารณาจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรี แต่นายกรัฐมนตรีกลับส่งให้คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรีชุดที่มีรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) เป็นประธานดูแลอีกชั้นหนึ่ง ตั้งแต่เดือนมกราคม 2546 ความไม่แน่นอนและความไม่ชัดเจนว่าอนาคตของพระราชบัญญัติสุขภาพฉบับนี้จะได้ประกาศเป็นกฎหมายหรือไม่และจะใช้เวลาอีกนานเท่าไร ก่อให้เกิดประเด็นคำถามที่น่าสนใจว่า แนวคิดหลักๆ ที่มีคุณค่าหลายประการที่ปรากฏอยู่ในร่างพระราชบัญญัติสุขภาพฉบับนี้ สามารถผลักดันให้มีการนําสู่การปฏิบัติจริงโดยไม่จําเป็นต้องรอให้พระราชบัญญัติดังกล่าวประกาศเป็นกฎหมายได้หรือไม่ และช่องทางหรือกระบวนการที่จะช่วยให้แนวคิดหลักๆ ในพระราชบัญญัติสุขภาพ ได้รับการนําไปปฏิบัติจริงได้อย่างกว้างขวางและทั่วถึงนั้นคืออะไร รายงานฉบับนี้จึงเป็นผลของความพยายามหาคําตอบดังกล่าวth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent215952 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการปฏิรูประบบสุขภาพen_US
dc.subjectระบบสุขภาพ -- ไทยen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการทบทวนศึกษาพันธกิจการปฏิรูประบบสุขภาพในอนาคต : มุมมองจากองค์กรท้องถิ่น ประชาสังคม และทุนทางสังคมth_TH
dc.title.alternativeA review of Mission on Health System refrom in the Future : from the Eye-view of Local Oranization,Communities and Social Capitalen_US
dc.identifier.callnoWA525 อ819ก 2547en_US
dc.identifier.contactno47ข020en_US
dc.subject.keywordประชาสังคมen_US
dc.subject.keywordทุนทางสังคมen_US
.custom.citationอุทัย ดุลยเกษม, Uthai Dulyakasem, สุริชัย หวันแก้ว, วีระ สมบูรณ์, ทศพล แก้วประพันธ์, Surichai Hwankaeow, Weera Somboon and Thonsapol Kaeowphapan. "การทบทวนศึกษาพันธกิจการปฏิรูประบบสุขภาพในอนาคต : มุมมองจากองค์กรท้องถิ่น ประชาสังคม และทุนทางสังคม." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1668">http://hdl.handle.net/11228/1668</a>.
.custom.total_download59
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1118.pdf
ขนาด: 236.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย