Show simple item record

Health Insurance for the Injured by Car Accident

dc.contributor.authorศรชัย เตรียมวรกุลth_TH
dc.contributor.authorSornchai Thiemworakulen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:18Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:36:16Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:18Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:36:16Z
dc.date.issued2545en_US
dc.identifier.otherhs0932en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1683en_US
dc.description.abstractในปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลได้ผลักดันพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 บังคับใช้เพื่อให้เจ้าของรถทุกคันต้องร่วมรับผิดชอบต่ออุบัติเหตุจากรถที่อาจจะเกิดขึ้น โดยกำหนดให้รถทุกคันต้องตัดให้มีการประกันภัยต่อความเสียหายในร่างกาย ชีวิต และอนามัยของผู้ประสบภัยจากรถ นอกจากนี้เพื่อไม่ให้ปัญหาเรื่องการเงินเป็นอุปสรรคต่อการรับผู้ประสบภัยเข้าทำการรักษาพยาบาล จึงให้มีการจัดตั้งกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถ เพื่อทำหน้าที่จ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น โดยไม่ต้องรอการพิสูจน์ความผิด ให้แก่สถานพยาบาลตามแต่กรณีที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติฯ ฉบับดังกล่าว ภายหลังการบังคับใช้พบว่า ผู้ประสบภัยมีปัญหาในการขอรับค่าความเสียหาย มีขั้นตอนยุ่งยาก เกิดความล่าช้า หรือบางครั้งถูกปฏิเสธการจ่าย ปัญหาเหล่านี้ทำให้เกิดข้อสงสัยถึงกลไกการทำงานภายใต้ พ.ร.บ.คุ้มครองฯ ว่ามีประสิทธิภาพเพียงใด นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีโครงการที่ให้หลักประกันสุขภาพ เช่น โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค สวัสดิการข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ กองทุนประกันสังคม เป็นต้น ซึ่งโครงการเหล่านี้ให้ความคุ้มครองครอบคลุมถึงกรณีการประสบอุบัติเหตุจากรถเช่นกัน ทำให้เกิดความซ้ำซ้อน ในทางปฏิบัติพบว่า ความซ้ำซ้อนของสิทธิประโยชน์จากโครงการต่างๆ เป็นสิ่งจูงใจให้ผู้ประสบภัยมีพฤติกรรมเลือกการใช้สิทธิที่ให้ประโยชน์สูงสุด หรือ ไม่เลือกใช้สิทธิที่ไม่สะดวก ทำให้เกิดปัญหาการเบิกจ่ายค่าความเสียหาย การใช้สิทธิผิดประเภท และความซ้ำซ้อนของโครงการ งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาถึงโครงสร้างการดำเนินงานให้ความคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ บทบาทและผลการดำเนินงานของผู้ให้ความคุ้มครอง และพฤติกรรมของผู้ประสบภัยจากรถในการขอรับความคุ้มครองภายใต้ พรบ.คุ้มครองฯ 2. เพื่อนำเสนอแนวทางการให้ความคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ และความเหมาะสมของสถานะการดำรงอยู่ของกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถ ว่าควรจะดำเนินการภายใต้รูปแบบปัจจุบันหรือโอนเงินสมทบไปยังกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อเสนอ หรือแนวทางอื่นที่อาจจะเหมาะสมกว่าทางเลือกทั้งสองth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข--การประเมินen_US
dc.subjectหลักประกันสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในส่วนของการประกันสุขภาพth_TH
dc.title.alternativeHealth Insurance for the Injured by Car Accidenten_US
dc.identifier.callnoW160 ศ134ก 2545en_US
dc.identifier.contactno44ค045en_US
dc.subject.keywordประกันสุขภาพen_US
dc.subject.keywordผู้ประสบภัยจากรถen_US
.custom.citationศรชัย เตรียมวรกุล and Sornchai Thiemworakul. "การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในส่วนของการประกันสุขภาพ." 2545. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1683">http://hdl.handle.net/11228/1683</a>.
.custom.total_download26
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs0932.pdf
Size: 1.242Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record