Show simple item record

Drug use evaluation of cefotaxime at Potharam Hospital

dc.contributor.authorสุพรชัย กองพัฒนากูลen_US
dc.contributor.authorSupornchai KongPattakulen_US
dc.contributor.authorปนิจ สมหอมen_US
dc.contributor.authorอุษา พาณิชปฐมพงศ์en_US
dc.contributor.authorประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูลen_US
dc.contributor.authorสมบูรณ์ นันทานิชen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:31Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:40:10Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:31Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:40:10Z
dc.date.issued2540en_US
dc.identifier.otherhs0271en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1705en_US
dc.description.abstractการประเมินการใช้ยา Cefotaxime ในโรงพยาบาลโพธารามCefotaxime เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่ม third generation cephalosporin มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้อย่างกว้างขวาง ทั้งเชื้อแกรมบวก แกรมลบ และเชื้อไม่พึ่งออกซิเจนบางตัว โดยเฉพาะการฆ่าเชื้อแกรมลบเหนือกว่ายาในกลุ่ม first และ second generation cephalosporin ทำให้มีการใช้ยานี้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาได้ ถ้ามีการใช้อย่างไม่เหมาะ วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ เพื่อศึกษาอิทธิพลของการประเมินการใช้ยา (Drug use evaluation) ที่มีต่อลักษณะการสั่งใช้ cefotaxime ตลอดจนกำหนด criteria ที่เหมาะสมของการใช้ในโรงพยาบาลโพธาราม โดยดัดแปลงมาจาก criteria ของ ASHP (American Society of Hospital Pharmacy) เก็บข้อมูลแบบย้อนหลัง 2 ปี (Pre-intervention period) ตั้งแต่เดือนมกราคม 2536-ธันวาคม 2537 และแบบไปข้างหน้า (Prospective study) โดยแบ่งเป็นระยะที่มีการสร้าง criteria (Intervention period) ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2538-กรกฎาคม 2538 และระยะหลังการประกาศใช้ criteria (Post-intervention period) ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2538-มกราคม 2539 จำนวนผู้ป่วยที่ใช้ยานี้คิดเป็น 104 ราย ในระยะ Pre-intervention 34 ราย ในระยะ Intervention และ 35 ราย ในระยะ Post-intervention หลังการประกาศใช้ criteria พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงการใช้ยาเทียบกับระยะ Intervention ดังนี้ มีการใช้ยาแบบ Documented therapy ไม่เหมาะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 33 ขณะที่การใช้ยาแบบ Empirical therapy มีความเหมาะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.3 มีการชั่งและบันทึกน้ำหนักผู้ป่วยลดลง ร้อยละ 47 ขณะที่มีการลดขนาดยาลงครึ่งหนึ่งในผู้ป่วยที่มีค่า creatinine clearance <20 ml/min เพิ่มขึ้น ร้อยละ 233.33 ขนาดยาที่สั่งใช้ในเด็กไม่เหมาะสม ไม่มีความแตกต่างกันทั้ง 2 ระยะ และการลดลงของไข้อย่างน้อย 1 องศาเซนเซียส หลังได้รับยาภายใน 3 วัน มีจำนวนลดลง ร้อยละ 14.3 และมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับทุก criteria ที่มีการเปลี่ยนแปลงผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการประเมินการใช้ยา cefotaxime มีผลต่อการสั่งใช้ยาให้เป็นไปในทางที่เหมาะสมในบาง criteria อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถบอกได้ว่าผลนี้จะอยู่นานเพียงไรen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent757279 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectDrug Utilizationen_US
dc.subjectCefotaximeen_US
dc.titleการประเมินการใช้ยา Cefotaxime ในโรงพยาบาลโพธารามen_US
dc.title.alternativeDrug use evaluation of cefotaxime at Potharam Hospitalen_US
dc.identifier.callnoQV350.5C3 ส246ก 2541en_US
dc.subject.keywordPotharam Hospitalen_US
dc.subject.keywordการประเมินการใช้ยาen_US
dc.subject.keywordโรงพยาบาลโพธารามen_US
.custom.citationสุพรชัย กองพัฒนากูล, Supornchai KongPattakul, ปนิจ สมหอม, อุษา พาณิชปฐมพงศ์, ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล and สมบูรณ์ นันทานิช. "การประเมินการใช้ยา Cefotaxime ในโรงพยาบาลโพธาราม." 2540. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1705">http://hdl.handle.net/11228/1705</a>.
.custom.total_download93
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs0271.pdf
Size: 831.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record