แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การวิจัยและพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ

dc.contributor.authorอดิศวร์ หลายชูไทยen_US
dc.contributor.authorAdit Laichoothaien_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.contributor.authorวิพรรณ ประจวบเหมาะ รูฟฟูโลen_US
dc.contributor.authorจิตปราณี วาศวิทen_US
dc.contributor.authorดวงกมล วิมลกิจen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:40Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:39:30Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:40Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:39:30Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.otherhs0049-2en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1726en_US
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติการศึกษานี้มุ่งเพื่อวิจัยและพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ (National Health Account - NHA) โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1.กำหนดคำนิยามรายจ่ายสุขภาพอันเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย 2.พัฒนาคู่มือ วิธีการเก็บข้อมูล การประมาณการรายจ่ายสุขภาพจากแหล่งการคลังเริ่มต้น (ultimate source of finance) ไปสู่ผู้จ่ายเงินแทน (financing agencies) 3.พัฒนาคู่มือและเกณฑ์การกระจายรายจ่ายจากผู้แทนไปยังสถานพยาบาลและกิจกรรม ต่าง ๆ ในกรณีที่รายงานปฐมภูมิของผู้จ่ายเงินไม่ได้แจกแจงรายละเอียด 4.ศึกษารายจ่ายสุขภาพโดยใช้ข้อมูลจริงปีงบประมาณและปี พ.ศ.2537 โดยดำเนินการทั้ง 2 ระดับ คือ จากการคลังเริ่มต้น (ultimate source) ไปยังผู้จ่ายเงิน (financing agencies) และจากผู้จ่ายเงินไปยังประเภทของสถานพยาบาลและประเภทรายจ่าย การศึกษาหนึ่งปีงบประมาณเพื่อเรียนรู้ฐานข้อมูล วิธีการจัดเก็บ การแจกแจงรายจ่ายสุขภาพ ผลการศึกษา นิยามความคิดรวบยอดรายจ่ายสุขภาพ หมายถึง รายจ่ายสำหรับสินค้าและบริการที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการมีสุขภาพ ที่ดีขึ้น กำหนดแหล่งการคลังภาคสาธารณะที่มีที่มาของเงินเพื่อสุขภาพจากภาษีทั่วไป และเบี้ยประกันหรือเงินสมทบสำหรับการประกันภาคบังคับและแหล่งการคลังภาคเอกชน ได้แก่ ครัวเรือน นายจ้างและเงินบริจาครวมเงินช่วยจากต่างประเทศ กำหนดแหล่งการคลังเริ่มต้น (ultimate source of finance) 5 แหล่ง กำหนดให้มีผู้จ่ายเงิน (financing agencies) ซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินโดยตรง 12 แหล่ง การศึกษาในปี พ.ศ.2537 พบว่า รายจ่ายสุขภาพทั้งหมด 128,305 ล้านบาท โดยไม่รวมจ่ายสำหรับการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขนั้น เป็นรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคร้อยละ 84.1 รายจ่ายเพื่อการสะสมทุนร้อยละ 15.9 ในรายจ่ายสุขภาพนี้เป็นการจ่ายจากแหล่งการคลังภาครัฐร้อยละ 48.8 และจากแหล่งการคลังภาคเอกชนร้อยละ 51.2 ในรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคทั้งหมด 107,867 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GPS)เมื่อเปรียบเทียบกับรายจ่ายสุขภาพทั้งหมดเฉพาะรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคที่ประมาณโดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในปี 2537 เท่ากับ 180,516 ล้านบาท หรือเท่ากับร้อยละ 5.01 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ซึ่งมีความแตกต่างกันถึงร้อยละ 2.01 ของ GDP หรือเท่ากับความคลาดเคลื่อนในวงเงินสูงถึง 72,648.42 ล้านบาทen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent4015816 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherโครงการสำนักพิมพ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Services -- Accountingen_US
dc.subjectMedically Underserved Area -- Accountingen_US
dc.titleการวิจัยและพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติen_US
dc.title.alternativeNational health account-NHAen_US
dc.identifier.callnoW74 อ143ก 2541en_US
dc.subject.keywordNational Health Accounten_US
dc.subject.keywordการวิจัยและพัฒนาen_US
dc.subject.keywordระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติen_US
.custom.citationอดิศวร์ หลายชูไทย, Adit Laichoothai, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, วิพรรณ ประจวบเหมาะ รูฟฟูโล, จิตปราณี วาศวิท and ดวงกมล วิมลกิจ. "การวิจัยและพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1726">http://hdl.handle.net/11228/1726</a>.
.custom.total_download87
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0049-2.PDF
ขนาด: 4.951Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย