dc.contributor.author | จิรพงศ์ อุทัยศิลป์ | th_TH |
dc.contributor.author | Chiraphong Utaisin | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:22:02Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:46:15Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:22:02Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:46:15Z | |
dc.date.issued | 254? | en_US |
dc.identifier.other | hs1054 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1778 | en_US |
dc.description.abstract | ระบบส่งต่อที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดขึ้นจะเริ่มต้นที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาลชุมชนใกล้บ้าน ในทางปฏิบัติเมื่อมีผู้ป่วยหนักเกินขีดความสามารถ ถ้าเป็นผู้ป่วยฉุกเฉิน โรงพยาบาลจะจัดรถพยาบาลและเจ้าหน้าที่นำส่งให้ แต่หากไม่ใช่ผู้ป่วยฉุกเฉิน การไปรับการรักษายังสถานบริการตามระบบส่งต่อจะเป็นภาระหน้าที่ของผู้ป่วยเอง ปัญหาเรื่องการที่แพทย์แนะนำหรือส่งผู้ป่วยไปรักษายังโรงพยาบาลที่มีศักยภาพสูงขึ้น แต่ผู้ป่วยไม่ไป น่าจะเป็นปัญหาที่พบเห็นได้เสมอในทุกโรงพยาบาล จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยที่แตกต่างกัน แต่สําหรับอําเภอแม่ระมาดและอําเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ซึ่งเป็นอำเภอชายแดน ประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยที่ได้รับการส่งรักษาต่อจะเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินซึ่งถูกนําส่งโดยรถพยาบาล แต่อีกประมาณครึ่งหนึ่งต้องเดินทางไปรับการรักษาเอง ผู้ป่วยเหล่านี้ส่วนใหญ่จะป่วยด้วยโรคที่ไม่ฉุกเฉิน จากการศึกษาข้อมูลตอบกลับจากแบบแจ้งผลการตรวจรักษา (ใบตอบใบ refer) พบว่าผู้ป่วยเหล่านี้จำนวนมากไม่ไปรับการรักษา หรือไปรับการรักษาแต่ไม่ต่อเนื่อง ข้อน่าสังเกตคือผู้ป่วยเกือบทุกรายเป็นผู้ที่มีหลักประกันสุขภาพแล้วทั้งสิ้น แต่ไม่สามารถไปรับการรักษาตามระบบส่งต่อได้ เพราะเหตุเนื่องจากฐานะยากจน พูดภาษาไทยไม่ได้ ไม่รู้จักวิธีเดินทาง ฯลฯ แม้ว่าโรงพยาบาลจะได้ตระหนักและหาหนทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวไปบ้างแล้วก็ตาม แต่การศึกษาเพื่อให้ทราบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งไปรักษาต่อยังสถานบริการสาธารณสุขระดับสูงขึ้นไป ไปรับการรักษาครบถ้วนมากน้อยเพียงใด และมีปัจจัยอะไรบ้างที่เป็นอุปสรรคซึ่งจะเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบส่งต่อให้สามารถตอบสนองต่อความจำเป็นของผู้ป่วยได้อย่างแท้จริง | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันเครือข่ายพัฒนาการส่งเสริมการวิจัยระดับพื้นที่ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขภาคเหนือ) | th_TH |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Referral and Consultation | en_US |
dc.subject | Tak | en_US |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | en_US |
dc.subject | การพัฒนาคุณภาพบริการ | en_US |
dc.subject | การส่งต่อ | en_US |
dc.subject | ตาก | en_US |
dc.subject | การบริการสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.title | ระบบส่งต่อในเขตพื้นที่ชายแดนจังหวัดตาก : ปัญหาและการแก้ไข | th_TH |
dc.title.alternative | Situation analysis and improvement of referral system in healthcare centers along the Myanmer boarder in Tak province | en_US |
dc.identifier.callno | W64 จ518ค [254?] | en_US |
dc.identifier.contactno | 44ค038 | en_US |
dc.subject.keyword | Referral System | en_US |
dc.subject.keyword | Situation Analysis of Referral System | en_US |
dc.subject.keyword | Health Center | en_US |
dc.subject.keyword | เครือข่ายสถานบริการสาธารณสุข | en_US |
.custom.citation | จิรพงศ์ อุทัยศิลป์ and Chiraphong Utaisin. "ระบบส่งต่อในเขตพื้นที่ชายแดนจังหวัดตาก : ปัญหาและการแก้ไข." 254?. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1778">http://hdl.handle.net/11228/1778</a>. | |
.custom.total_download | 152 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 3 | |
.custom.downloaded_this_year | 9 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 3 | |