dc.contributor.author | บัลลังก์ อุปพงษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Ballang Uppapong | en_US |
dc.contributor.author | วินัย ลีสมิทธิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Vinai Leesmidt | en_US |
dc.contributor.other | โรงพยาบาลพรานกระต่าย, อำเภอพรานกระต่าย, จังหวัดกำแพงเพชร | th_TH |
dc.contributor.other | Prankratai Hospital, Prankratai District, Kamphaengphet Province | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-27T11:46:37Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:20:49Z | |
dc.date.available | 2008-09-27T11:46:37Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:20:49Z | |
dc.date.issued | 2550 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,3-4 (ต.ค-ธ.ค.2550) : 289-298 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/178 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เพื่อประเมินการอภิบาลและการจัดการสำหรับซื้อบริการสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง การรับฟังบรรยายสรุปจากเจ้าหน้าที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, และการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้จัดบริการและผู้ซื้อบริการในจังหวัดตัวแทนทั้ง 4 ภาคของประเทศไทย จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และนำเสนอผลเชิงพรรณนา การศึกษาพบว่าการอภิบาลการซื้อบริการมีทั้งระดับส่วนกลางและจังหวัด ระดับส่วนกลาง การอภิบาลเกิดโดยผ่าน 4 องค์กรสำคัญ คือ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สปสช., คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข และกระทรวงสาธารณสุข ระดับจังหวัดการอภิบาลผ่าน 3 องค์กรสำคัญ ได้แก่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) สปสช.สาขาจังหวัด และสถานบริการภาครัฐและเอกชน สปสช.สาขาเขตและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีบทบาทการอภิบาลการซื้อบริการน้อย มีการอภิบาลนอกรูปแบบเกิดขึ้นในระดับจังหวัด ปัญหาการอภิบาลเกิดจากความสับสนในบทบาทผู้ซื้อบริการและผู้จัดบริการของสสจ. อำนาจการซื้อบริการของสปสช.มีอิทธิพลอย่างมากต่อการอภิบาลระบบประกันสุขภาพที่จังหวัด มีข้อสรุปเสนอแนะสำคัญ 4 ประการเพื่อพัฒนาการอภิบาลการซื้อบริการ ได้แก่ จัดตั้งคณะกรรมการการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการเป็นหน่วยงานอิสระ, การแยกซื้อบริการกับผู้จัดบริการที่ชัดเจน, การกระจายอำนาจให้สำนักงานสาขามากขึ้น, และการเปิดโอกาสให้ประชาคมและองค์กรท้องถิ่นมีส่วนร่วมมากขึ้นในการอภิบาลการซื้อบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | th_TH |
dc.format.extent | 240795 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | การอภิบาลบทบาทการซื้อบริการในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Governance of Purchasing Functions in the Thai Universal Coverage Scheme | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study was aimed at assessing the governance and management of purchasing universal health
care services of Thailand’s National Health Security Office (NHSO). The research methodology used was
the quality method; it involved reviewing the literature and related documents, a briefing from the staff of
the NHSO and in-depth interviewing of the representatives of providers and purchasers in each selected
province in four regions of Thailand. The data obtained were analyzed by using content analysis technique
and the result was presented descriptively. The results of the study showed that governance existed
at both the central and provincial levels. At the central level, governance was provided by four important
organizations including the NHSO Board, the NHSO, the Service Standard and Quality Control Board
(SQCB), and the Ministry of Public Health. At the provincial level, governance passed through three
important organizations comprising the Provincial Public Health Office (PPHO), the provincial branch of
the NHSO, and the public and private health-care providers. The regional branch of NHSO and local
government had little to do with governance. Governance was informal in the provinces. The problems
of governance were due to the confusion between the purchasing and providing functions of the PPHO.
The purchasing power of the NHSO provided a great effect on the governance of the provincial health
insurance. There are four important summarizing recommendations for improving service purchasing
governance, including separating the SQCB into an autonomous body, making the division the cutting
between the purchasing and providing roles, delegating more authority to branch offices of the NHSO,
and opening more opportunities to civil society and local organizations for participating in governing the
purchasing functions under the Universal Coverage Scheme. | en_US |
dc.subject.keyword | ประกันสุขภาพถ้วนหน้า, การอภิบาล | th_TH |
dc.subject.keyword | ซื้อบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject.keyword | การกระจายอำนาจ | th_TH |
dc.subject.keyword | Universal Health Coverage | en_US |
dc.subject.keyword | Governance | en_US |
dc.subject.keyword | Purchasing health care | en_US |
dc.subject.keyword | Decentralization | en_US |
.custom.citation | บัลลังก์ อุปพงษ์, Ballang Uppapong, วินัย ลีสมิทธิ์ and Vinai Leesmidt. "การอภิบาลบทบาทการซื้อบริการในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/178">http://hdl.handle.net/11228/178</a>. | |
.custom.total_download | 624 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 8 | |
.custom.downloaded_this_year | 82 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 14 | |