Browsing สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ by Title
Now showing items 133-152 of 161
-
ผลกระทบบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ต่อโรงพยาบาลภาครัฐ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2539 จัดทำขึ้นโดยใช้หลักการและแนวทางในการคัดเลือกยาขององค์การอนามัยโลกที่กำหนดให้มีจำนวนยาที่จำเป็นที่น้อยที่สุด (Minimal List) ต่อมามติของคณะรัฐมนตรีในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 ได้กำหนดให้ผู้ป่ว ... -
ผลดี ผลเสีย การฝากครรภ์พิเศษในโรงพยาบาลรัฐ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นจากการทำเวชปฏิบัติของสูติแพทย์ฝากครรภ์พิเศษทั้งในมุมมองของผู้ใช้และแพทย์ผู้ให้บริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพและความเชื่อมั่นต่อบริการของหญิงที่ไม่ฝากครรภ์พิเศษ ... -
ผู้มีรายได้น้อย กับการเข้าถึงบริการทดแทนไต: วิเคราะห์และข้อเสนอเชิงนโยบาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ในประเทศไทย 76.7% ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-stage Renal Disease, ESRD) ไม่สามารถเข้าถึงบริการทดแทนไต เพราะเป็นบริการที่มีราคาแพงจนอาจทำให้ผู้ป่วยล้มละลาย (Catastrophic illiness) สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยรายงา ... -
พรมแดนแห่งความรู้: หนึ่งทศวรรษของการประเมินการใช้ยาในโรงพยาบาล
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวน สังเคราะห์องค์ความรู้และข้อค้นพบต่างๆ เกี่ยวกับการประเมินการใช้ยาเชิงคุณภาพในประเทศไทยใน 10 ปีที่ผ่านมาโดยการทบทวนวิทยานิพนธ์และรายงานการวิจัยที่ตีพิมพ์สรุปการประเมินการใช้ยาเป้าหมาย 5 ... -
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ใครได้-ใครเสีย : กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)ในประเทศไทยการบาดเจ็บจากอุบัติภัยเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันดับสอง รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด อัตราตายจากอุบัติภัยต่างๆ ดารบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกมีสัดส่วนที่สูง ภาพที่2 แสดงจำนวนอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ ... -
ภาระงานของบุคลากรและประสิทธิภาพการใช้เตียงโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัด ปี 2543
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปริมาณงานรักษาของบุคลาการ 3 สายงานได้แก่ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ งบประมาณ 2543 ของโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัดทุกแห่งในประเทศไทยทำการศึกษาระหว่างเดือนมีนาคม – มิถุนายน ... -
ภาระโรค
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การวัดสถานะสุขภาพของประชากรเป็นการบอกถึงสถานะสุขภาพของของประชากร ซึ่งเครื่องชี้วัดส่วนใหญ่ไม่สามารถที่จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระหว่าโรคที่ทำให้ตาย กับโรคที่ก่อให้เกิดความพิการหรือการเจ็บป่วยเรื้อรังได้ จึงได้มีความพยายา ... -
มาทำความเข้าใจการประเมินทางเศรษฐศาสตร์กันดีกว่า (ตอนที่ 1)
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
มาทำความเข้าใจการประเมินทางเศรษฐศาสตร์กันดีกว่า (ตอนที่ 2)
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
ระบบการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)กระทรวงสาธารณสุขโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ริเริ่มพัฒนางานติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยามาตั้งแต่ พ.ศ. 2526 โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะรวบรวมและวิเตราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและอันตรายจากการใช้ยาที่เกิดขึ้นในประเทศ ... -
ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย - คำถามวิจัยที่สำคัญ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าดำเนินการเต็มพื้นที่ในปีงบประมาณ ๒๕๔๕ เนื่องจากเป็นโครงการระดับชาติ การกำหนดและปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อให้โครงการฯบรรลุวัตถุประสงค์มีความจำเป็นจะต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการและงานวิจัยที่สำคัญ ๖ ด้าน ... -
ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามต่อสาธารณะว่า ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครคือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านการใช้บริการสุขภาพและการได้รับประโยชน์จากงบประมาณภาครัฐ ระหว่างกลุ่มประ ... -
รายงานสถานะสุขภาพคนไทย: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ ศ 2546
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)ในพ.ศ. 2546 สำนักงานสถิติแห่งชาติและสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้สร้างคำถามที่ใช้ประเมิณสถานะสุขภาพ 9 ข้อ เป็นคำถามที่ประเมิณสุขภาพกาย 4 มิติ ( การเคลื่อนไหว, การดูแลตนเอง, การทำกิจกรรมปกติ, การเจ็บป่วย ไม่สบาย) ... -
วิธีวัดคุณภาพชีวิต สำหรับผู้ป่วยต้อกระจกในภูมิภาค
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
วิธีวิเคราะห์ต้นทุนบริการของสถานพยาบาลแบบมาตรฐานและแบบลัด
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)รายงานฉบับนี้เสนอวิธีการวิเคราะห์ต้นทุนของสถานพยาบาล 2 แบบได้แก่ แบบมาตรฐานและแบบลัดโดยวิธีมาตรฐานนั้น จะได้ประโยชน์สำหรับผู้บริหารสถานพยาบาล ในการกำกับต้นทุนของคน และปรับประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรส่วนวิธีการลัดนั้นมีประโ ... -
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการรังสีรักษาในประเทศไทยภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการรังสีรักษาในประเทศไทยภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านผู้ให้บริการหน่วยรังสีรักษาและผู้รับบริการซึ่งหมายถึงผู้ป่วยมะเร็งที่ต้ ... -
สถานพยาบาลต้องปรับตัวอย่างไรภายใต้นโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้า-กรณีศึกษาจังหวัดจันทบุรี
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินด้านรายจ่ายและรายรับภายใต้ฉากทัศน์ต่างๆ ของการดำเนินการตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้า และต้นทุนดำเนินการต่อหน่วยของสถานพยาบาลในจังหวัดจันทบุรีปีงบประมาณ 2543 ... -
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)ข้อมูลด้านอนามัยและสวัสดิการที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการประเมินผลโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ขอความร่วมมือจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ให้ดำเนินการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขึ้น ... -
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 2 เรื่อง รายจ่ายด้านของคนไทยก่อนและหลังมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาพรวมสัมฤทธิ์ผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในด้านภาระรายจ่ายสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ โดยเปรียบเทียบในช่วงก่อนและหลังมีสิทธิประโยชน์นี้และผลที่มีต่อผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้ว ... -
อัตราเหมาจ่ายรายหัวชุดสิทธิประโยชน์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2546
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การกำหนดอัตราเหมาจ่ายในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า สำหรับปีงบประมาณ 2545 นั้น มีข้อจำกัด 3 ประการ เนื่องจาก ข้อมูลรายละเอียดของชุดสิทธิประโยชน์ ประชา่กรเป้าหมายของกิจกรรมเฉพาะและต้นทุนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคยังไม่ชัดเจน ...