Show simple item record

Forecast of Health Personnel Demand in the Next Two Decades

dc.contributor.authorสถาบันพระบรมราชชนกen_US
dc.contributor.authorสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.contributor.authorสำนักนโยบายและแผนสาธารณสุขen_US
dc.contributor.editorสุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:23Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:18:06Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:23Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:18:06Z
dc.date.issued2540en_US
dc.identifier.otherhs0166en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1821en_US
dc.description.abstractการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้านำเสนอผลการศึกษาการคาดการณ์แนวโน้มระบบสาธารณสุข วิสัยทัศน์ และกลยุทธการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ตลอดจนการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนากำลังคนอันเป็นโครงการที่ดำเนินการร่วมกันระหว่าง 3 สถาบันคือ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข และสถาบันพระบรมราชชนก ผลการศึกษาพบว่า ในอีก 20 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2558) ระบบสาธารณสุขของไทยน่าจะเป็นระบบที่มีการจัดการในเรื่อง บริการสุขภาพมากขึ้นภายใต้ระบบการจัดการทางการเงินในลักษณะการประกันสุขภาพแบบต่างๆ ภายใต้ระบบดังกล่าวกำลังคนด้านสุขภาพจะต้องเป็นผู้ที่มีภาวะผู้นำมีทักษะในการบริหารจัดการ มีพฤติกรรมที่เป็นตัวอย่างที่ดี และมีความรู้ในทักษะในวิชาชีพ ในด้านการศึกษาความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพนั้น ได้ดำเนินการณ์ไว้ 9 กลุ่มบริการ โดยอาศัยวิธีการคาดการณ์ 4 วิธีได้แก่ อัตราส่วนต่อประชากร ความจำเป็นด้านสุขภาพ ความต้องการใช้บริการ และเป้าหมายการพัฒนาระบบบริการ ซึ่งสรุปได้ว่า กำลังคนหลักๆ ในการบริการสุขภาพคือ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล ขาดแคลนน้อยลงมาก ทันตแพทย์และเภสัชกรอาจมีโอกาสกำลังคนล้นเกินในอนาคต ข้อเสนอแนะจากการวิจัย การเพิ่มอัตราการผลิตกำลังคนในกลุ่มที่ขาดแคลไม่มากในอนาคต ควรมุ่งเน้นในลักษณะที่ไม่ก่อตั้งสถาบันผลิตใหม่ แต่อาศัยสถาบันการผลิตเดิมร่วมกับสถาบันในระบบบริการสุขภาพกลุ่มที่เพียงพอหรือมีแนวโน้มอาจจะเกินความต้องการ ควรงดการเพิ่มอัตราการผลิตทันทีรัฐควรเร่งการผลิตหรือส่งเสริมการผลิตกำลังคนในสาขาที่ขาดแคลนมากการผลิตกำลังคนทุกประเภท รัฐควรลดบทบาทลงให้เป็นในลักษณะที่มีส่วนร่วมระหว่างสถาบันต่างๆ ในภ าครัฐและสถาบันในภาคเอกชนรัฐควรเร่งให้มีการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขระดับต้นในชุมชนทั้งเขตเมืองและชนบทให้ชัดเจนปัญหาการกระจายกำลังคนในทุกสาขามีความรุนแรงมาก รัฐจำเป็นต้องดำเนินมาตรการทั้งทางบวกทางลบ รวมทั้งมาตรการกระจายความเจริญให้ทั่วถึงโดยเร็ว จึงจะแก้ปัญหาในระยะยาวได้ควรมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพิ่มเติมในเรื่องสำคัญๆ คือ การศึกษาพลวัตของกำลังคนสุขภาพกลุ่มต่างๆ การศึกษาพัฒนารูปแบบการลดบทบาทของภาครัฐในการผลิตกำลังคน การศึกษาพัฒนารูปแบบความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการผลิตกำลังคน การศึกษาพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขระดับต้นที่ชัดเจน การพัฒนาเครือข่ายนักวิชาการในด้านการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ การศึกษาเพื่อคาดการณ์ความต้องการกำลังคนอื่นๆ ที่ยังไม่ได้ดำเนินการเช่น อาชีวอนามัย อนามัยสิ่งแวดล้อมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข และสถาบันพระบรมราชชนกen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Services Researchen_US
dc.subjectHealth Manpoweren_US
dc.subjectการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพen_US
dc.titleการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้าen_US
dc.title.alternativeForecast of Health Personnel Demand in the Next Two Decadesen_US
dc.identifier.callnoW76 ส881ก 2540en_US
dc.subject.keywordการผลิตกำลังคนen_US
dc.subject.keywordกำลังคนด้านสุขภาพen_US
.custom.citationสถาบันพระบรมราชชนก, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข and สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข. "การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้า." 2540. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1821">http://hdl.handle.net/11228/1821</a>.
.custom.total_download333
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year5
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs0166.pdf
Size: 15.94Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record