แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจน

dc.contributor.authorอัญชนา ณ ระนองen_US
dc.contributor.authorAnchana Na Ranongen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ณ ระนองen_US
dc.contributor.authorWirot Na Ranongen_US
dc.contributor.authorสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยen_US
dc.contributor.authorThailand Development Research Institute Foundationen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:45Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:43:08Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:45Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:43:08Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.otherhs1390en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1866en_US
dc.descriptionชุดโครงการวิจัยประเมินผลกระทบของระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าด้านการเงินการคลัง: โครงการวิจัยการใช้ข้อมูลการสำรวจมาวัดผลกระทบของโครงการ 30 บาทฯ และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจน และการสร้างดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพen_US
dc.descriptionรายงานเล่มที่ 1 ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจนen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวัดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน และการลดความยากจน โดยการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความยากจน ได้ใช้วิธีวัดความยากจนของครัวเรือนไทยตามวิธีการใหม่ งานวิจัยส่วนนี้เป็นการดำเนินการต่อเนื่องจากงานของคณะผู้วิจัย (วิโรจน์ ณ ระนอง และคณะ 2547) ซึ่งแม้ว่าจะเป็นงานที่ได้รับการกล่าวอ้างถึงบ่อยครั้งในวงสาธารณะรวมทั้งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่การศึกษาดังกล่าวยังมีข้อจำกัดบางประการคือ ประการแรก การศึกษาดังกล่าวใช้ข้อมูลถึงเพียงปี 2545 ซึ่งเป็นช่วงที่ยังมีส่วนที่ overlap กับช่วงก่อนที่มีโครงการ 30 บาทและผลกระทบจากการดำเนินการของโครงการ 30 บาทในปีแรกเพียงปีเดียวก็อาจจะไม่เพียงพอที่จะนำมาสรุปเป็นผลของโครงการนี้ได้อย่างมีน้ำหนักเพียงพอ รวมทั้งผลอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได้หลังจากที่โครงการได้ดำเนินการมานานขึ้น และทุกฝ่ายผ่านการปรับตัวกันมากขึ้น (ตัวอย่างเช่น เหตุผลประการหนึ่งที่ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับโครงการ 30 บาทฯ มักจะระบุว่าผลที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจค่อนข้างสูงในระยะแรกเกิดจากสถานพยาบาลยังสามารถระดมเงินทุนสำรอง (เงินบำรุง) มาใช้ ซึ่งจะทำให้ผลดังกล่าวจะอยู่ได้ไม่นานและทัศนคติของประชาชนจะเปลี่ยนไปหลังจากที่โครงการผ่านไปได้ 2-3 ปี แต่ถ้าพิจารณาจากโพลล์ต่างๆ ที่ออกมาในระยะหลังก็จะเห็นได้ว่าความนิยมของโครงการยังไม่มีแนวโน้มที่จะตกลงอย่างที่ท่านเหล่านั้นคาดการณ์เอาไว้) ซึ่งการขยายขอบเขตของการศึกษาให้ครอบคลุมช่วงหลังจากที่มีการดำเนินโครงการ 30 บาทฯ ให้นานขึ้น จะช่วยให้สามารถตอบคำถามและข้อกังขาเหล่านี้ได้อย่างชัดเจนและด้วยความมั่นใจมากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยen_US
dc.format.extent552505 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Insurance Systemsen_US
dc.subjectInsurance, Healthen_US
dc.subjectHealth Expendituresen_US
dc.subjectระบบประกันสุขภาพen_US
dc.subjectประกันสุขภาพen_US
dc.subjectค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลen_US
dc.subjectระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing)th_TH
dc.titleผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจนen_US
dc.identifier.callnoWA74 อ519ผ ล.1 2550en_US
dc.identifier.contactno50-010-8en_US
dc.subject.keywordหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าen_US
dc.subject.keywordค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพen_US
dc.subject.keywordการลดความยากจนen_US
.custom.citationอัญชนา ณ ระนอง, Anchana Na Ranong, วิโรจน์ ณ ระนอง, Wirot Na Ranong, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย and Thailand Development Research Institute Foundation. "ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจน." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1866">http://hdl.handle.net/11228/1866</a>.
.custom.total_download155
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1390.pdf
ขนาด: 565.0Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย