แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การกระจายอำนาจกำลังคนด้านสุขภาพในพื้นที่ชนบท

dc.contributor.authorสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์en_US
dc.contributor.authorSomsak Chumharasen_US
dc.contributor.authorสุพัตรา ศรีวณิชชากรen_US
dc.contributor.authorSupattra Srivanichakornen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:47Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:46:25Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:47Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:46:25Z
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.otherhs0668en_US
dc.identifier.otherhe0065en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1870en_US
dc.description.abstractการกระจายบุคลากรด้านสุขภาพในประเทศไทยดีขึ้นตามลำดับ ในอดีต ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรสุขภาพ โดยเฉพาะแพทย์ในพื้นที่ห่างไกลเป็นปัญหาที่รุนแรงมาก แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกรเป็นสามกลุ่มเหลักที่ต้องใช้ทำงานให้กับภาครัฐเมื่อจบการศึกษา เนื่องจากรัฐบาลเป็นผู้ออกทุนให้การศึกษา ถึงแม้กลุ่มเหล่านี้ต้องไปใช้ทุน แต่การขาดแคลนบุคลากรเหล่านี้ในพื้นที่ห่างไกลยังเป็นปัญหาอยู่มากในหลายพื้นที่ เนื่องจากมีอัตราการเคลื่อนย้ายที่สูง สำนักงานนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุขเป็นองค์กรที่รับผิดชอบกำหนดความต้องการบุคลากรด้านสุขภาพ ขณะที่ทบวงมหาวิทยาลัยทำหน้าที่หลักในการผู้ผลิต สำนักงานข้าราชการและพลเรือนทำหน้าที่ควบคุมกรอบอัตรากำลังของทุกสถานบริการของรัฐเหตุผลหลักที่สำคัญที่บุคลากรด้านสุขภาพ โดยเฉพาะแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกรมีการเคลื่อนย้ายสูง ได้แก่ ความไม่พอใจกับงานที่ทำ และ ต้องการเรียนต่อเพื่อเป็นบุคลากรเฉพาะทาง อย่างไรก็ดี ทั้งนักเรียนและผู้ปกครองส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการที่ภายหลังจบต้องทำงานให้กับภาครัฐ และเห็นด้วยกับการที่รัฐสนับสนุนด้านการเงินเพื่อการศึกษา รายงานนี้ต้องการเสนอให้โรงพยาบาลจังหวัดมีกรอบจำนวนแพทย์น้อยกว่าสถานบริการในระดับอำเภอ ความเห็นนี้ตรงข้ามกับกรอบของสำนักงาน ก.พ โดยคงการทำงานในภาครัฐใช้ทุนไว้สำหรับกลุ่มแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร ให้มีการกระจายบุคลากรสุขภาพระหว่างจังหวัดเป็นธรรมมากขึ้น ควรจะมีงบประมาณเพิ่มเติมเพื่อให้สถานบริการระดับอำเภอสามารถจ้างบุคลากรเพิ่มเติมได้เอง และควรมีแรงจูงใจทั้งด้านการเงินและการศึกษาให้แก่บุคลากรที่ให้บริการในพื้นที่ห่างไกลen_US
dc.description.sponsorshipธนาคารพัฒนาเอเซียen_US
dc.description.sponsorshipกระทรวงสาธารณสุขen_US
dc.format.extent6224883 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHuman Resources Developmenten_US
dc.subjectHealth Manpoweren_US
dc.subjectHealth Resourcesen_US
dc.subjectการพัฒนากำลังคนen_US
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพen_US
dc.subjectกำลังคนด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHuman Resourcesen_US
dc.titleการกระจายอำนาจกำลังคนด้านสุขภาพในพื้นที่ชนบทen_US
dc.title.alternativeHuman resources for health in Thailand : technical reporten_US
dc.description.abstractalternativeThere has been significant improvement in distribution of human resources for health in Thailand. Historically, a shortage of health personnel in rural areas was severe. Nevertheless, the most needed group in rural areas was the physician. The doctors, dentists and pharmacists in rural areas were mostly under compulsory service program by which they were financially subsidised while studying. Nevertheless, there were high turnover rates of these groups in rural areas. The Bureau of Health Policy and Planning was responsible for determining needs for HRH (human resource for health) for utilisation while the Ministry of University Affairs (MUA) mainly produced HRH especially doctors, dentists and pharmacists. However, the Office of Civil Service Commission (CSC) controlled staffing patterns of all public health facilities. Most reasons of leaving district level given by HRH were job dissatisfaction and their need for further training especially for being specialists. However, health sciences students and their parents were not against the compulsory service program rather favouring government financing for education. The paper proposed number of doctors at the provincial level be less than that of district level which was opposite to the CSC’s requirement and the compulsory service program be remained for doctors, dentists and pharmacists. More equity of HRH distribution among provinces should be implemented and additional budget should be given to district health facilities to employ additional staff. Financial and educational incentives should also be delivered for those working in rural areas.en_US
dc.identifier.callnoW76 ส282ก 2542en_US
dc.identifier.callnoW76 S697H 1999en_US
.custom.citationสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์, Somsak Chumharas, สุพัตรา ศรีวณิชชากร and Supattra Srivanichakorn. "การกระจายอำนาจกำลังคนด้านสุขภาพในพื้นที่ชนบท." 2542. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1870">http://hdl.handle.net/11228/1870</a>.
.custom.total_download226
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0668.pdf
ขนาด: 6.101Mb
รูปแบบ: PDF
Icon
ชื่อ: he0065.pdf
ขนาด: 255.4Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย