Show simple item record

The application of collaborative quality improvement method : case study of prevention of ventilator-associated pneumonia

dc.contributor.authorอะเคื้อ อุณหเลขกะth_TH
dc.contributor.authorAkeau Unahalekhakaen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:49Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:18:20Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:49Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:18:20Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifier.otherhs1212en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1873en_US
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้ เป็นโครงการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลของการใช้วิธีการ Collaborative Quality Improvement ในการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (VAP) ในหออภิบาลผู้ป่วยของโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ 18 แห่ง ระยะเวลาดำเนินการ 2 ปี ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2546 – เดือนมิถุนายน 2548 การดำเนินงานแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ การประเมินและพัฒนาระบบเฝ้าระวัง VAP การประยุกต์ใช้วิธี Collaborative Quality Improvement ในการป้องกัน VAP และการประเมินผลการดำเนินงานโครงการ กิจกรรมในโครงการประกอบด้วย การประเมินสถานการณ์การเฝ้าระวัง VAP การประชุมเชิงปฏิบัติการโรงพยาบาลในโครงการ 18 แห่ง 2 ครั้ง และการประชุมเชิงปฏิบัติการสำหรับโรงพยาบาลในแต่ละภาค ภาคละ 2 ครั้ง รวม 6 ครั้ง การสัมภาษณ์และการส่งแบบสอบถามให้บุคลากรของโรงพยาบาลตอบด้วยตนเอง ผลการวิจัยพบว่า แนวโน้มของการเกิด VAP ของโรงพยาบาล 18 แห่งในภาพรวมลดลง ค่าใช้จ่ายยาต้านจุลชีพที่ใช้ในการศึกษา VAP ลดลง แต่อัตราผู้ป่วย VAP ที่เสียชีวิตยังไม่เปลี่ยนแปลงชัดเจน บุคลากรของโรงพยาบาลส่วนใหญ่เห็นว่าวิธีการนี้ใช้ได้ผลกับโรงพยาบาล ช่วยให้ได้แนวทางการแก้ปัญหาที่ชัดเจน ก่อให้เกิดการทำงานเป็นทีม บุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับ VAP มากขึ้น เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ การดำเนินงานโครงการประสบความสำเร็จระดับหนึ่ง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสำเร็จของการดำเนินงานประกอบด้วย ปัจจัยด้านบุคลากร ด้านทรัพยากร และด้านกระบวนการการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า วิธีการ Collaborative Quality Improvement สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ ซึ่งเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ แต่อย่างไรก็ตามยังมีความจำเป็นที่จะต้องติดตามว่า ผลการดำเนินงานจะยั่งยืน และสามารถนำไปขยายผลในหน่วยงานอื่นๆ ของโรงพยาบาลได้เพียงใดth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Prevention and Controlen_US
dc.subjectPneumoniaen_US
dc.subjectการป้องกันและควบคุมโรคen_US
dc.subjectปอดอักเสบen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้วิธี Collaborative Quality Improvement : กรณีศึกษาการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจth_TH
dc.title.alternativeThe application of collaborative quality improvement method : case study of prevention of ventilator-associated pneumoniaen_US
dc.identifier.callnoWF26 อ584ก 2548en_US
dc.identifier.contactno47ค008en_US
dc.subject.keywordCollaborative Quality Improvementen_US
dc.subject.keywordPreventionen_US
dc.subject.keywordVentilator Associated Pneumoniaen_US
dc.subject.keywordการป้องกันen_US
dc.subject.keywordปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจen_US
.custom.citationอะเคื้อ อุณหเลขกะ and Akeau Unahalekhaka. "การประยุกต์ใช้วิธี Collaborative Quality Improvement : กรณีศึกษาการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1873">http://hdl.handle.net/11228/1873</a>.
.custom.total_download172
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year3
.custom.downloaded_fiscal_year4

Fulltext
Icon
Name: hs1212.pdf
Size: 1.354Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record