แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

นโยบายการขึ้นทะเบียนตำรับยาของประเทศไทย : พัฒนาการและการดำเนินงาน

dc.contributor.authorนิยดา เกียรติยิ่งอังศุลีen_US
dc.contributor.authorNiyada Kiatying-Angsuleeen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:52Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:47:28Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:52Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:47:28Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0810en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1881en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเติมช่องว่างของความรู้เรื่องนโยบายขึ้นทะเบียนตำรับยาในประเทศไทย โดยใช้หลายวิธีการของงานวิจัยทางสุขภาพ และการวิเคราะห์นโยบายมาอธิบายร่วมกับการค้นคว้าทางเทคนิคด้านเภสัชกรรมและวิทยาศาสตร์การแพทย์ คําถามการวิจัย มี 2 ข้อ คือ (1) นโยบายขึ้นทะเบียนตํารับยาของประเทศไทยเป็นอย่างไรและ (2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการดําเนินการทางนโยบาย ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัย วิเคราะห์ทั้งพัฒนาการและการดําเนินงาน วัตถุประสงค์ของการขึ้นทะเบียนตํารับยาในประเทศไทยพบว่ามีความไม่สมดุล มุ่งแต่การให้มียาใช้ จนละเลยหลักการของการขึ้นทะเบียนคือหลักของความปลอดภัย คุณภาพ และสรรพคุณที่เหมาะสม จากการสํารวจการขึ้นทะเบียนตํารับยาระหว่างปี พ.ศ. 2526-2540 พบว่าการขึ้นทะเบียนตํารับยามีลักษณะสองมาตรฐาน ระหว่างยาใหม่และยาที่ไม่ใช่ยาใหม่ และไม่ประสบความสําเร็จในการทบทวน มีความแตกต่างกันมากในเวลาที่ ใช้ในการขึ้นทะเบียนตํารับยา ระหว่าง 1 ถึง 2,147 วัน มีการขึ้นทะเบียนตํารับยามาก ขณะที่ถอนยาน้อยมาก มีลักษณะที่เรียกว่า entrepreneur หรือ laissez-fair งานวิจัยนี้ค้นพบกลุ่มของสาเหตุใหญ่ที่ทําให้การดําเนินการทางนโยบายล้มเหลว คือ 1) การขาดการพัฒนาการที่ดีของนโยบายขึ้นทะเบียนตํารับยา เพราะมีการแทรกแซงมากมาย 2) การที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ยังขาดความรู้เทคนิคในเรื่องการขึ้นทะเบียนตํารับยา ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างและกระบวนการ 3) ทัศนคติของผู้เกี่ยวข้อง สําคัญต่อทั้งนโยบายและตัวยา มีผลต่อการที่จะเข้ามาแทรกแซงเช่นกัน การที่เข้าใจปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ จึงสามารถนําเสนอทางแก้ไขที่มีประสิทธิผลได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent2378568 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectPharmaceutica--Registersen_US
dc.subjectยา--ทะเบียนen_US
dc.subjectระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleนโยบายการขึ้นทะเบียนตำรับยาของประเทศไทย : พัฒนาการและการดำเนินงานen_US
dc.title.alternativePharmaceutical registration policy in Thailand : development and implementationen_US
dc.description.abstractalternativeThis research seeks to fill the gap in knowledge on pharmaceutical registration policy in Thailand, by using a mixture of public and health policy analysis and technical aspects, and focuses on content, context, actor and process. The two specific questions are; (a) what is pharmaceutical registration policy in Thailand? (b) What are the factors influencing the pharmaceutical registration policy process? The thesis focuses on both policy development and the implementation process. The objectives of pharmaceutical registration policy in Thailand had been found to be unbalanced; focusing more on access and obscuring the general goal of quality, safety and efficacy. A survey of tracer drug registration (1983-1997) found that the registration system in Thailand has double standards between new and non-new drugs, with little success in re-evaluation of previous registered drugs. The research showed a large variation in registration time (1-2147 days), a high number of approved drugs, contrasted with few rejected or withdrawn. Hence the Thai registration system may be described as ‘entrepreneurial and permissive’ or as taking a ‘laissez-faire’ approach. This research has identified four main groups of factors that led to the failure of implementation. First, policy on registration was not well developed because of the unbalanced influences of different actors with varying powers; this was reflected too in the implementation process, which was also influenced by a variety of actors. Second, there are continuing technical weaknesses in the drug regulatory structure and process. Third, the advisory consultative process in the registration system was not well managed. Fourth, key actors’ attitudes and perceptions, and organisational hierarchy had an important influence on decision-making. On the basis of the understanding of these weaknesses, it may be possible to introduce new potential measures in the future.en_US
dc.identifier.callnoQV55 น575น 2544en_US
dc.subject.keywordการขึ้นทะเบียนตำรับอาหารen_US
.custom.citationนิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี and Niyada Kiatying-Angsulee. "นโยบายการขึ้นทะเบียนตำรับยาของประเทศไทย : พัฒนาการและการดำเนินงาน." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1881">http://hdl.handle.net/11228/1881</a>.
.custom.total_download62
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0810.pdf
ขนาด: 2.167Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย