การรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่โรงพยาบาลลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
dc.contributor.author | ณรงค์ ถวิลวิสาร | en_US |
dc.contributor.author | Narong Thawinwisan | en_US |
dc.coverage.spatial | พระนครศรีอยุธยา | en_US |
dc.coverage.spatial | Phra Nakhon Sri Ayutthaya province | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-28T11:32:13Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:58:48Z | |
dc.date.available | 2008-09-28T11:32:13Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:58:48Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2(เมย.-มิย. 2551) (ฉบับเสริม 5) : 1031-1036 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/189 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของยาต้านเอชไอวี และแนวทางในการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่มารับยาต้านไวรัสที่โรงพยาบาลลาดบัวหลวง ในช่วง พ.ศ. 2547-2550 จำนวน 50 คน โดยศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเพศ อายุ อาชีพ ระยะเวลาการติดเชื้อก่อนได้ยาต้านไวรัส ประวัติการได้รับยาต้านไวรัส จำนวนซีดี4 การแพ้ยา การเกิดโรคติดเชื้อฉวยโอกาส การเปลี่ยนสูตรยาและการเสียชีวิต การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณนา จากการวิจัยพบว่าจำนวนเพศชายและหญิงไม่แตกต่างกัน อายุ 30-39 ปี อาชีพส่วนใหญ่รับจ้าง รองลงมาคือพนักงานโรงงาน การศึกษาซีดี4 พบว่าที่มีซีดี4 0-100 เซลล์/ลบ.มม. เมื่อกินยาครบ 24 เดือน จำนวนซีดี4 เปลี่ยนแปลงจากเดิมไม่มากนัก ค่าซีดี4 เฉลี่ย 64 เซลล์/ลบ.มม. กลุ่มที่มีค่าซีดี4 101-200 เซลล์/ลบ.มม. ค่าเฉลี่ยซีดี4 เพิ่มขึ้นจนกระทั่งเมื่อกินยาครบ 24 เดือน ค่าเฉลี่ยซีดี4 173 เซลล์/ลบ.มม. และกลุ่มที่มีค่าซีดี4 มากกว่า 200 เซลล์/ลบ.มม. ค่าซีดี4 เฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อกินยาครบ 24 เดือน ค่าซีดี4 เฉลี่ย 447.55 เซลล์/ลบ.มม. การศึกษาน้ำหนักตัวพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด โรคติดเชื้อฉวยโอกาสที่พบมากที่สุดคือ โรคคริย์ปโทคอคคัส ร้อยละ 8 รองลงมาคือปอดอักเสบป์นิวโมศิย์สทิส แครินีไอ ร้อยละ 6 เหตุผลของการเปลี่ยนสูตรยาเนื่องจากมีอาการข้างเคียงของยา ได้แก่ ผื่นผิวหนัง ร้อยละ 8 และตับอักเสบ ร้อยละ 6 | th_TH |
dc.format.extent | 158967 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่โรงพยาบาลลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา | en_US |
dc.title.alternative | Treatment of HIV-infected and AIDs patients at Ladbualuang hospital, Phra Naknon Sri Ayutthaya province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The research objective was to study the effectiveness of antiretroviral (ARV) drugs and the effective technique in taking care of HIV-infected and AIDS patients. The research sample comprised 50 HIV-infected and AIDS patients taking ARV drugs. The scope of the study included their sex, age, occupation, and time period before starting to take ARV, history of ARV drug usage, CD4 levels before and after treatment, drug side effects, prevalence of opportunistic infections, causes of changing drug formula, and mortality rate; all data were analyzed by descriptive statistics. The result of the research showed no difference among male and female subjects, whose age ranged from 30 to 39 years. Previous occupations were employees and industrial workers. The CD4 response study disclosed that the group of subjects who had CD4 levels of 0-100 cells/mm3 had changed little from previous levels after the patients had taken drugs until the end of 24 months, with the highest CD4 level average being 68 cells/mm3. The second group had CD4 levels of 101-200 cells/mm3; the CD4 level average increased until the patients had taken drugs at the end of 24 months with the average being 173 cells/mm3. The third group had CD4 levels of >200 cells/mm3; the CD4 level continued to increase when the patients had taken drugs at the end of 24 months, with the highest average being 447.55 cells/mm3. The study about their weight found that it clearly changed and that about opportunistic infections found that the most frequent were cryptococcosis (8%) and PCP (6%). The change in drug formula was because of drug side effects. The study about adverse drug reaction found that the most frequent were rash (8%) and hepatitis (6%). | en_US |
dc.subject.keyword | ผู้ติดเชื้อเอชไอวี | en_US |
dc.subject.keyword | ผู้ป่วยเอดส์ | en_US |
dc.subject.keyword | ยาต้านไวรัส | en_US |
dc.subject.keyword | ยาต้านเอชไอวี | en_US |
dc.subject.keyword | HIV infected | en_US |
dc.subject.keyword | AIDS | en_US |
dc.subject.keyword | Anti-HIV Agents | en_US |
.custom.citation | ณรงค์ ถวิลวิสาร and Narong Thawinwisan. "การรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่โรงพยาบาลลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/189">http://hdl.handle.net/11228/189</a>. | |
.custom.total_download | 657 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 5 | |
.custom.downloaded_this_year | 63 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 10 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ