Show simple item record

Outcomes of the prevention of the mother-to-child HIV transmission project in Naknon Ratchasima province : 2003-2007

dc.contributor.authorพัฒนา เบ้าสาทรen_US
dc.contributor.authorPatana Buosatornen_US
dc.contributor.authorบุญช่วย นาสูงเนินen_US
dc.contributor.authorBoonchuay Nasoongnernen_US
dc.contributor.authorพิชัย ไทยอุดมen_US
dc.contributor.authorPichai Thaiudomen_US
dc.contributor.authorสลักจิต แก้วอรสานต์en_US
dc.contributor.authorSalugchit Kaeworasanten_US
dc.coverage.spatialนครราชสีมาen_US
dc.coverage.spatialNakhon Ratchasima provinceen_US
dc.date.accessioned2008-09-28T11:58:39Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:59:27Z
dc.date.available2008-09-28T11:58:39Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:59:27Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2(เมย.-มิย. 2551) (ฉบับเสริม 5) : 997-1004en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/192en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลการดำเนินงานโครงการป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวีจากมารดาสู่ทารก จังหวัดนครราชสีมา ปีงบประมาณ 2546-2550 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวีจากมารดาสู่ทารกในโรงพยาบาสรัฐทั้ง 29 แห่ง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2545 - 30 กันยายน พ.ศ. 2550 และเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาวิธีการดำเนินงานป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวีจากมารดาสู่ทารกให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา วิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก ในจังหวัคนครราชสีมา จากข้อมูลทุติยภูมิของหญิงที่มาฝากครรภ์และคลอดที่โรงพยาบาลของรัฐจำนวน 29 แห่ง ในปีงบประมาณ 2546-2550 และจากการติดตามทารกที่เกิดจากมารดาติดเชื้อเอชไอวี โดยใช้โปรแกรม Epi Info เวอร์ชั่น 3.3.2 วิเคราะห์หาค่าสถิติเชิงพรรณนา ค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ การศึกษาพบว่าหญิงที่มาฝากครรภ์ได้รับการตรวจหาเชื้อเอชไอวี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 97.1 ใน พ.ศ. 2546 เป็นร้อยละ 99.7 ใน พ.ศ. 2550 ตรวจพบภาวะติดเชื้อเอชไอวีสูงสุดใน พ.ศ. 2547 เท่ากับร้อยละ 1.2 และลดลงเหลือร้อยละ 0.8 ใน พ.ศ. 2550 ผลการตรวจเชื้อเอชไอวีเป็นบวกค่อนข้างคงที่ร้อยละ 0.6-0.8 แต่หญิงที่มาฝากครรภ์มีผลการตรวจหาเชื้อเอชไอวีเป็นบวกได้รับยาต้านไวรัส AZT เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 86.0 ใน พ.ศ. 2546 เป็นร้อยละ 100 ใน พ.ศ. 2550 โดยได้รับยาต้านไวรัส AZT อย่างเดียว > 4 สัปดาห์ก่อนคลอดเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 72.7 ใน พ.ศ. 2546 เป็นร้อยละ 91.9 ใน พ.ศ. 2550 ส่วนที่เหลือได้รับยาแต่น้อยกว่า 4 สัปดาห์ ใน พ.ศ. 2550 ทารกที่ได้รับยาต้านไวรัส AZT อย่างเดียว 1 สัปดาห์ เพิ่มขึ้นเช่นกันจากร้อยละ 46.2 ใน พ.ศ. 2546 เป็นร้อยละ 78.4 ใน พ.ศ. 2550 ทารกคลอดมีชีพจากมารดาติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการติดตามเจาะเลือดเพื่อหาการติดเชื้อเอชไอวีในช่วงอายุ 18-24 เดือน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 73.5 ใน พ.ศ. 2546 เป็นร้อยละ 81.6 ใน พ.ศ. 2550 ทารกทุกรายได้รับนมผสมจ่ายก่อนออกจากโรงพยาบาล ทารกที่ติดตามไม่ได้ลดลงจากร้อยละ 35.3 เป็น 18.4 ใน พ.ศ. 2546-2550 โดยมีสาเหตุเนื่องจากการย้ายที่อยู่ร้อยละ 87.5 ตามด้วยผู้ปกครองไม่ต้องการทราบผลการตรวจเลือด ร้อยละ 12.5 สำหรับเด็กที่มาเจาะเลือดเพื่อหาการติดเชื้อเอชไอวี พบว่ามีผลเลือดบวกสูงสุดใน พ.ศ. 2546 ร้อยละ 6.4 และลดลงช่วง พ.ศ. 2547-2550 เป็นร้อยละ 2.6, 3.7, 1.6 และ 0.7 ตามลำดับ สรุปว่าการดำเนินงานโครงการป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก จังหวัดนครราชสีมา ในปิงบประมาณ 2546-2550 ประสบความสำเร็จ สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายครบทุกโรงพยาบาล และมีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในช่วง พ.ศ. 2546-2550 โดยมารดาและทารกได้รับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี และได้รับยาต้านไวรัสในสัดส่วนที่สูงขึ้น ส่งผลให้อัตราการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากมารดาสู่ทารกของจังหวัดนครราชสีมา ในเด็กอายุครบ 18-24 เดือน ลดลงอย่างชัดเจนจนบรรลุเป้าหมายของประเทศ ที่ให้มีการติดเชื้อไม่เกินร้อยละ 6 ของทารกที่คลอดจากแม่ติดเชื้อth_TH
dc.format.extent168145 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการดำเนินงานโครงการป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจังหวัดนครราชสีมา ปีงบประมาณ 2546-2550en_US
dc.title.alternativeOutcomes of the prevention of the mother-to-child HIV transmission project in Naknon Ratchasima province : 2003-2007en_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeA study of the outcomes of the Prevention of Mother-to-Child Transmission Project in Nakhon Ratchasima Province was aimed at assessing the achievements of 29 government hospitals in the period from October 1, 2002 to September 30, 2007, and determining strategies for improving the effectiveness of the project. This study follows a descriptive epidemiological study design. Secondary data on pregnant women attending antenatal clinics and giving birth at those hospitals, together with the outcomes of children born to HIV-infected mothers during fiscal years 2003-2007, were analyzed by the Epi Info V. 3.3.2. descriptive statistics program. The percentage of pregnant women who were tested for HIV increased from 97.1 percent in 2003 to 99.7 percent in 2007. The HIV-positive rate among pregnant women peaked in 2004 at 1.2 percent before declining to 0.8 percent in 2007. Women giving birth had relatively stable HIV infection rates (0.6-0.8%). However, the proportion of pregnant women with HIV- positive status who received antiviral drugs (AZT) rose from 86 percent to 100 percent in the period from 2003 to 2007. Those who received AZT for at least four weeks increased from 72.7 percent in 2003 to 91.9 percent in 2007, while the remainder received the antivirals for fewer than four weeks. Newborn babies receiving AZT also increased from 46.2 percent to 78.4 in 2007. The surviving babies had been monitored for HIV infection until reaching the age of 18 -24 months and the follow-up rates rose from 73.5 percent in 2003 to 81.6 percent in 2007. Every baby (100%) was provided with infant formula powdered milk before leaving the hospital. The rate of loss to follow-up decreased from 35.3 percent to 18.4 percent during the period 2003-2007. The main reason was change of address (87.5%), followed by guardians not wanting to know the HIV status of their child (12.5%). Among those infants whose blood was available for HIV testing, the HIV-positive rate was highest in 2003 at 6.4 percent (9 cases), then the number of HIV-positive infants decreased to 5 (2.6%), 6 (3.7%), 2 (1.6%), and 1 case (0.7%), respectively, during the period 2004-2007. Conclusions: Overall, the Prevention of Mother-to-Child Transmission Project in fiscal years 2003-2007 successfully achieved its objectives and was implemented at all government hospitals in Nakhon Ratchasima Province. The outcomes of the project improved during that period. The percentage of mothers and infants who were tested for HIV and received antiviral drugs increased and resulted in a drop in maternal HIV transmission in the province. Given the significant decline in the trends of the HIV infection rate among children aged 18-24 months, the project achieved the national target of lowering maternal HIV transmission below 6 percent.en_EN
dc.subject.keywordการติดเชื้อเอชไอวีen_US
dc.subject.keywordโครงการป้องกันการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูกen_US
dc.subject.keywordหญิงมีครรภ์en_US
dc.subject.keywordเชื้อเอชไอวีen_US
dc.subject.keywordทารกติดเชื้อเอชไอวีen_US
dc.subject.keywordยาต้านไวรัสen_US
dc.subject.keywordHIVen_US
dc.subject.keywordMother to Child Transmissionen_US
dc.subject.keywordHIV Infected Motheren_US
dc.subject.keywordHIV Infected Infanten_US
dc.subject.keywordAntiretroviral Therapyen_US
.custom.citationพัฒนา เบ้าสาทร, Patana Buosatorn, บุญช่วย นาสูงเนิน, Boonchuay Nasoongnern, พิชัย ไทยอุดม, Pichai Thaiudom, สลักจิต แก้วอรสานต์ and Salugchit Kaeworasant. "การดำเนินงานโครงการป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกจังหวัดนครราชสีมา ปีงบประมาณ 2546-2550." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/192">http://hdl.handle.net/11228/192</a>.
.custom.total_download543
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month11
.custom.downloaded_this_year84
.custom.downloaded_fiscal_year19

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n2 ...
Size: 168.5Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record