The National Health System Constitution: A Tool for Health System Reform from the Legal Perspective
dc.contributor.author | ไพศาล ลิ้มสถิตย์ | en_US |
dc.contributor.author | Paisan Limstit | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-29T08:56:02Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:04:31Z | |
dc.date.available | 2008-09-29T08:56:02Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:04:31Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) : 32-39 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/197 | en_US |
dc.description.abstract | ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็นกรอบและแนวนโยบายยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นทิศทางระบบสุขภาพของประเทศที่จะทำให้ประชาชนมีสุขภาวะหรือสุขภาพอย่างสมบูรณ์ทั้งทางกาย จิต ปัญญา และสังคมที่เชื่อมโยงเป็นองค์รวม การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงบรรนิทัศน์ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อวิเคราะห์สถานภาพทางกฎหมายของธรรมนูญฯ ที่มีผลผูกพันต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และที่มีความเชื่อมโยงกับสิทธิหน้าที่ด้านสุขภาพตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ และรัฐธรรมนูญ รวมถึงการผลักดันธรรมนูญฯ ให้มีผลในทางปฏิบัติ แม้ว่าธรรมนูญฯ ไม่ถือเป็นกฎหมายตามแบบพิธีและไม่มีสภาพบังคับทางกฎหมาย แต่ก็มิได้ทำให้ธรรมนูญฯ เป็นสิ่งที่ปราศจากความผูกพันใดๆ หรือเป็นข้อด้อยของ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติแต่อย่างใด เนื่องจากกฎหมายนี้ได้วางยุทธศาสตร์ สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา ที่สร้างความผูกพันแก่หน่วยงานของรัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม และภาคการเมือง โดยไม่เน้นการใช้อำนาจบังคับ หากเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพทุกฝ่าย รวมถึงกลวิธานสมัชชาสุขภาพ การทำให้ธรรมนูญฯ เกิดผลผูกพันอย่างจริงจังนั้น จะต้องเชื่อมโยงกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบัญญัติในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ และการใช้สิทธิเสนอร่างกฎหมายของประชาชนตามมาตรา 163 ของรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะทำให้พระราชบัญญัตินี้กลายเป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย จึงสมควรผลักดันให้ธรรมนูญฯ เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายรัฐบาล หรือ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ที่จะผูกพันฝ่ายบริหารและส่วนราชการ | th_TH |
dc.format.extent | 222540 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ธรรมนูญระบบสุขภาพแห่งชาติ : เครื่องมือปฏิรูประบบสุขภาพในมิติกฎหมาย | en_US |
dc.title.alternative | The National Health System Constitution: A Tool for Health System Reform from the Legal Perspective | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The constitution of the national health system under the National Health Act B.E. 2550 (2007) shall be deemed as a framework and guideline in making policies, strategies and assessing the performance of activities in respect of national health. In other words, the health system constitution is the national framework for the health system, providing for the state of human beings that are perfect in physical, mental, intellectual and social aspects, all of which are holistic in balance. This study used documentary research and in-depth interviews; it is aimed at exploring the legal status of the national health system constitution, how it binds relevant organizations, the linkages with rights and duties in respect of health and the Constitution of the Kingdom of Thailand and its implementation in practice.The national health system constitution is not a formal law and has no legal sanction, but with the approval of the Council of Ministers, the health system constitution shall be binding on relevant parties, including state agencies, civil society, politicians and the government. This does not reflect a weakness in the Act. This Act uses a “mountain-moving triangle” strategy and health assembly for implementing some restrictions on interested parties, using a participatory approach. For the purpose of implementing the fundamental principles in the national health system constitution, there should be some relationship between this constitution and the provisions in Chapter 3 (Rights and Liberties of the Thai People) and Chapter 5 (Directive Principles of Fundamental State Policies) of the Constitution of the Kingdom of Thailand, including section 163 of the Constitution. Therefore, the National Health Act constitutes the model for health laws. Moreover, the health system constitution should be mentioned in government policy and the administration of the state affairs plan. | en_US |
dc.subject.keyword | ธรรมนูญระบสุขภาพแห่งชาติ | en_US |
dc.subject.keyword | ระบบสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | สมัชชาสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา | en_US |
dc.subject.keyword | พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 | en_US |
dc.subject.keyword | รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย | en_US |
dc.subject.keyword | National Health System Constitution | en_US |
dc.subject.keyword | Health System | en_US |
dc.subject.keyword | Health Assembly | en_US |
dc.subject.keyword | Mountain-Moving Triangle | en_US |
dc.subject.keyword | National Health Act B.E.2550 | en_US |
dc.subject.keyword | The Constitution of the Kingdom of Thailand | en_US |
.custom.citation | ไพศาล ลิ้มสถิตย์ and Paisan Limstit. "ธรรมนูญระบบสุขภาพแห่งชาติ : เครื่องมือปฏิรูประบบสุขภาพในมิติกฎหมาย." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/197">http://hdl.handle.net/11228/197</a>. | |
.custom.total_download | 835 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 5 | |
.custom.downloaded_this_year | 118 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 15 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ