• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ผลกระทบทางสุขภาพจากธรณีพิบัติภัยคลื่นยักษ์สึนามิ : กรณีศึกษาชุมชนบ้านบางสัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา

แสงอรุณ อิสระมาลัย; Saengarun Isaramalai; ภัทราภรณ์ กฤษณะพันธ์; Phatrapron Khisanaphan;
วันที่: 2550
บทคัดย่อ
จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่บริเวณเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซียเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ส่งผลให้บริเวณชายฝั่งอันดามันของประเทศไทย เกิดคลื่นยักษ์พัดน้ำทะเลเข้าฝั่ง ทําให้ 6 จังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทยได้รับความเสียหายอย่างมาก ผลกระทบจากเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิส่งผลให้ประชาชนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศจํานวนมากเสียชีวิต สูญหายและบาดเจ็บในพื้นที่ดังกล่าวอีกทั้งที่อยู่อาศัยธุรกิจแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความเสียหายเป็นมูลค่ากว่า 40, 000 ล้านบาท ซึ่งต้องใช้เวลาในการฟื้นฟูให้กลับมาในสภาพเดิมโดยเร็วที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณจังหวัดพังงา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่กําลังได้รับการส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญของภาคใต้ เหตุการณ์คลื่นยักษ์พัดถล่มทําให้เกิดการสูญเสียชีวิตกว่า 4, 213 ราย ทั้งทรัพย์สิน บ้านเรือน และสถานประกอบการเสียหายเป็นจํานวนมาก ชุมชนบ้านบางสัก ต.บางม่วง อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา จึงเป็นชุมชนหนึ่งที่ได้รับความเสียหายโดยตรงจากการเกิดคลื่นยักษ์ในครั้งนี้ เป็นผลให้บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย สถานที่ท่องเที่ยว ที่พักตากอากาศหรือรีสอร์ทแถบบริเวณชายหาดส่วนใหญ่ได้รับความเสียหาย ภายหลังเกิดเหตุการณ์ประชาชนจํานวนมากจึงไร้ที่อยู่อาศัย ที่ทํากิน และไร้อาชีพ บางครัวเรือนต้องสูญเสียสมาชิกในครอบครัว ทําให้ไม่สามารถดําเนินชีวิตต่อไปได้ตามปกติ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพซึ่งครอบคลุมมิติสุขภาพทั้ง 4 ด้าน อันได้แก่ ด้านกาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ ภายหลังการเกิดคลื่นยักษ์สึนามิ จึงเป็นเครื่องมือในการประเมินปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ประสบภัยทั้งในระยะสั้นและยาว อันจะสามารถนําไปใช้เป็นแนวทางในการให้การช่วยเหลือแก่ประชาชนในพื้นที่ให้สามารถฟื้นคืนสภาพจากความสูญเสียต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจสามารถนําไปใช้ในการจัดทําแผนพัฒนาพื้นที่ประสบภัยเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs1345.pdf
ขนาด: 390.0Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 3
ปีพุทธศักราชนี้: 2
รวมทั้งหมด: 95
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV