Chronic Care Model
dc.contributor.author | วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี | en_US |
dc.contributor.author | Wiroj Jiamcharasrungsi | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-29T08:58:20Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:14:50Z | |
dc.date.available | 2008-09-29T08:58:20Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:14:50Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) : 82-90 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/203 | en_US |
dc.description.abstract | แม้ว่าปัจจุบันจะมีวิธีการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างมีประสิทธิภาพ แต่พบว่ามีผู้ป่วยโรคเหล่านี้จำนวนมากไม่ได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม ทั้งนี้เนื่องจาก (ก) จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามโครงสร้างอายุของประชากรที่เพิ่มขึ้นจนเกินศักยภาพของระบบบริการสุขภาพที่มีอยู่ (ข) ระบบสุขภาพนำวิทยาการที่พิสูจน์แล้วมาประยุกต์ใช้ในเวชปฏิบัติทั่วไปอย่างจำกัด และ (ค) ระบบสุขภาพปัจจุบันที่ออกแบบเพื่อรักษาโรคเฉียบพลันไม่สามารถตอบสนองความต้องการด้านการดูแลรักษาโรคเรื้อรังได้ จึงมีการพัฒนาต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังขึ้นในทศวรรษ 1990 โดยมีแนวความคิดว่ากระบวนการและผลลัพธ์การรักษาที่มีคุณภาพจะบังเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีปฏิสัมพันธ์ที่มีคุณภาพระหว่างผู้ป่วยที่มีความรู้และกระตือรือร้นและคณะผู้บริการที่เตรียมพร้อมล่วงหน้า ซึ่งจะเป็นจริงได้ต้องอาศัยองค์ประกอบ 6 ประการของต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ดังนี้ คือ (1) การสนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ป่วย (2) การออกแบบระบบบริการสุขภาพใหม่ (3) การมีระบบฐานข้อมูลทางคลินิก (4) การมีระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิกของคณะผู้บริการ (5) ระบบและองค์กรสุขภาพที่เกื้อหนุนการดูแลโรคเรื้อรัง และ (6) การสนับสนุนทางนโยบายและทรัพยากรจากชุมชน ปัจจุบันมีการนำต้นแบบนี้ไปใช้กับโรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอคอักเสบเรื้อรัง โรคหอบหืด โรคซึมเศร้า และการติดเชื้อเอชไอวี ผลการประเมินโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับโรคเบาหวานพบว่า การนำต้นแบบนี้ไปประยุกต์ใช้ทำให้คุณภาพของกระบวนการดูแลรักษาและผลลัพธ์ระยะสั้นดีขึ้น ส่วนผลลัพธ์ระยะยาวต่ออายุขัยของผู้ป่วยยังไม่มีข้อมูลชัดเจน | th_TH |
dc.format.extent | 273324 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | en_US |
dc.title.alternative | Chronic Care Model | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | Although effective treatment of and care for some chronic diseases exist nowadays, the majority of patients with such diseases still do not receive appropriate treatment. This is due to: (a) the rapidly rising number of patients in parallel with the increasing age structure of the population, which exceeds the ability of the existing health-care system; (b) the health-care system falling short in its ability to translate knowledge into routine medical practice; and (c) the health-care delivery system being designed for acute patient care; it is poorly organized for providing the full complement of services needed by people with common chronic conditions. The chronic care model (CCM) was developed in the 1990s, based on the premise that effective chronic illness care can be delivered by prepared provider teams who engage productively with an activated, informed patient. The six dimensions of CCM that enhance this productive interaction include the following: (1) self-management support; (2) delivery system redesign; (3) a clinical information system; (4) decision support; (5) health-care organization; and (6) community policies and resources. To date, CCM has been applied for patients with diabetes, cardiovascular disease, chronic respiratory diseases and asthma, depression and HIV infection. Evaluation results, particularly for diabetes, show that the implementation of CCM improves the process and immediate outcomes of care. However, its long-term impact on patients’ longevity is still undetermined. | en_US |
dc.subject.keyword | การดูแลผู้ป่วย | en_US |
dc.subject.keyword | โรคเรื้อรัง | en_US |
dc.subject.keyword | Patient Care Model | en_US |
dc.subject.keyword | Chronic Disease | en_US |
.custom.citation | วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี and Wiroj Jiamcharasrungsi. "ต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/203">http://hdl.handle.net/11228/203</a>. | |
.custom.total_download | 4974 | |
.custom.downloaded_today | 2 | |
.custom.downloaded_this_month | 62 | |
.custom.downloaded_this_year | 1264 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 189 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ