แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ : รายงานการทบทวนเอกสารวิชาการชุดโครงการเรื่อง วัณโรค

dc.contributor.authorเพชรวรรณ พึ่งรัศมีen_US
dc.contributor.authorPetchawan Pungrassamien_US
dc.contributor.authorวีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์en_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:24:10Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:36:58Z
dc.date.available2008-12-04T05:24:10Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:36:58Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.otherhs0543en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2045en_US
dc.description.abstractวัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ? ผลการทบทวนรายงานการวิจัย 55 เรื่อง ระหว่าง พ.ศ. 2511 – 2541วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนานถือได้ว่าเป็นการระบาดลูกที่สาม (third epidemic) และอยู่ในระดับภาวะฉุกเฉินโลก (global emergency) มาตั้งแต่ปี 2536 วัณโรคชนิดนี้จะดื้อยาอย่างน้อยสองขนาน คือ isoniazid และ rifampicin และไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่โอกาสเกิดมีน้อย ในปี 2540 องค์กรอนามัยโลกประมาณการณ์ว่าประเทศไทยมีผู้ที่เป็นวัณโรคชนิดนี้กว่า 3000 ราย และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปลายปี 2541 ประเทศไทยพบเปอร์เซ็นต์ผู้ติดเชื้อประเภทนี้ประมาณ 26% ของผู้ติดเชื้อวัณโรคทั้งหมด ประกอบด้วยเชื้อที่ดื้อต่อยา isoniazid 13% streptomycin 12% rifampicin 7% ethambutol 7% และ ดื้อต่อยาหลายขนานคิดเป็น 3% เปรียบเทียบกับปี 2511 จนถึงปี 2541 เปอร์เซ็นต์พบผู้ติดเชื้อวัณโรคดื้อยาเพิ่มมากขึ้นสำหรับยาทุกตัว ปัจจัยสำคัญที่สัมพันธ์กับการดื้อยาของเชื้อวัณโรค ได้แก่ จำนวนรอยโรคในปอด ประวัติครอบครัวที่มีผู้ติดเชื้อ และประวัติการตรวจพบ HIV ขณะที่ปัจจัยสัมพันธ์กับเชื้อวัณโรคที่ดื้อยาหลายขนาน ได้แก่ ประวัติการรักษาวัณโรค ประวัติคนในครอบครัวที่เป็นวัณโรค และประวัติกาตรวจพบ HIVรายงานนี้แนะนำให้มีการพัฒนาวิธีการรักษาที่มีประสิทธิผลและต้องมีการประเมินผลอย่างต่อเนื่องทั้งในด้านคุณภาพและปริมาณ การพัฒนาการใช้ยุทธิวิธี DOT ในเชิงคุณภาพ คุณภาพในห้องชัณสูตร การสร้างเครือข่าย และพัฒนาระบบข้อมูล ในแง่การพัฒนาและวิจัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการรักษาที่ได้ผลต่อเชื้อวัณโรคที่ดื้อยาหลายขนานต้องทำการศึกษา และประเมินผลตามกรอบของการควบคุมวัณโรคที่กำหนดโดยกระทรวงสาธารณสุขen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยen_US
dc.format.extent2729876 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectTuberculosis--Prevention and Controlen_US
dc.titleวัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ : รายงานการทบทวนเอกสารวิชาการชุดโครงการเรื่อง วัณโรคen_US
dc.title.alternativeWhether MDR-TB(multi drug resistance TB) had devastated Thailand : 55 articles reviewed during 1968 to 1998en_US
dc.description.abstractalternativeWhether MDR-TB (multi-drug resistance TB) had devastated Thailand: 55 articles reviewed between 1968 and 1998Multi-drug resistant tuberculosis have been regarded as the third epidemic and become global emergency since 1993. The multi-drug resistant TB is at least resistant to 2 drugs which are isoniazid and rifampicin. The MDR-TB is uncured despite its rare occurrence. A major cause of MDR-TB is either irregular drug taking or not completing course of drug taking. In 1997, the WHO reported Thailand’s MDR-TB at around 3000 cases considered as high tendency. By December 1998, the rate of drug resistant TB was 26%, 13% to isoniazid, 12% to streptomycin, 7% to rifampicin, 7% to ethambutol and 3% to multi-drugs. Compared between 1968 and 1998, the percentages of drug resistant TB had increased for each drug. Factors related to drug resistant TB were number of lesions in lungs, family history of TB and HIV positive history while factors related to MDR-TB were history of TB treatment, TB family history and HIV positive historyThe paper recommends development of effective and continuous TB program implementation and evaluation, quality of the DOTs, quality of lab testing and its network and effective information system. In terms of research and development, factors related to treatment success for MDR-TB should be studied and treatment evaluation should be performed according to national TB control by Ministry of Public Health.en_US
dc.identifier.callnoWF200 พ256ว 2542en_US
dc.subject.keywordวัณโรคen_US
.custom.citationเพชรวรรณ พึ่งรัศมี, Petchawan Pungrassami and วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์. "วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ : รายงานการทบทวนเอกสารวิชาการชุดโครงการเรื่อง วัณโรค." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2045">http://hdl.handle.net/11228/2045</a>.
.custom.total_download311
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year13
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0543.PDF
ขนาด: 2.514Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย