Show simple item record

Occupational Therapy - Mahidol Clinic System in Stroke Patients

dc.contributor.authorอนุชาติ เขื่อนนิลen_US
dc.contributor.authorAnuchart Kaunnilen_US
dc.contributor.authorศุภลักษณ์ เข็มทองen_US
dc.contributor.authorSupalak Khemthongen_US
dc.date.accessioned2008-09-29T08:59:44Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:20:23Z
dc.date.available2008-09-29T08:59:44Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:20:23Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) : 136-145en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/210en_US
dc.description.abstractอุบัติการโรคหลอดเลือดสมองในประชากรไทยสูงขึ้นทุกเพศทุกวัย ดังนั้นทิศทางการบริการกิจกรรมบำบัด จึงควรสอดคล้องกับการพัฒนา หรือคงสภาพทักษะของการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและควรทำการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของระบบการบริการกิจกรรมบำบัด เพื่อพร้อมที่จะรองรับจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้น. Occupational Therapy - Mahidol Clinic System (OT-MCS) จึงเป็นระบบการให้บริการเริ่มต้นดั้งเดือนเมษายน ถึงพฤษภาคม 2550 ณ คลินิกกิจกรรมบำบัดมหิดล โดยเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการทางกิจกรรมบำบัด ก่อนและหลังใช้ระบบนาน 30 วัน ในส่วนที่ 2 ทำการสำรวจความคิดเห็นของนักกิจกรรมบำบัดและวิเคราะห์จัดกลุ่มข้อมูลด้วย Hierarchical Cluster Analysis ในส่วนที่ 3 แบ่งผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องการคงสภาพความสามารถในการทำกิจกรรม (เปรียบเทียบการฝึกทำกิจกรรมการรักษาที่ซ้ำกันด้วยสถิติเชิงพรรณนา) และกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องการพัฒนาความสามารถในการทำกิจกรรม (เปรียบเทียบระดับการจัดกิจกรรมบำบัดของผู้ป่วยก่อนและหลัง 30 วันของการใช้ O-MCS ด้วยสถิติ Wilcoxon Test) หลังการใช้ระบบ OT-MCS ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมีจำนวนครั้งของการมารับบริการเพิ่มขึ้น โดยมีจำนวนนักกิจกรรมบำบัดที่ให้บริการเท่าเดิม นักกิจกรรมบำบัดมีความความพึงพอใจและความสำคัญในการทำกิจกรรมบำบัด 40 รายการที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนั้นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ต้องการคงสภาพความสามารถในการทำกิจกรรมมีความพึงพอใจ และความสำคัญในการทำกิจกรรมอยู่ในระดับปานกลางถึงมาก ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ต้องการพัฒนาความสามารถในการทำกิจกรรมอย่างมีรูปแบบการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องตามกรอบแนวคิดสากลของกิจกรรมบำบัด ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสามารถใช้ศักยภาพที่มีอยู่ผ่านการทำกิจกรรมต่างๆ ที่มีความหมาย มีกระบวนวิเคราะห์และสังเคราะห์กิจกรรมที่เหมาะสม เกิดการเรียนรู้ถึงความสำคัญของการทำกิจกรรม และเกิดความพึงพอใจต่อการเลือกทำกิจกรรมที่อาจนำไปปฏิบัติได้จริงในสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยเองth_TH
dc.format.extent397983 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleระบบการบริการกิจกรรมบำบัดมหิดลในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.title.alternativeOccupational Therapy - Mahidol Clinic System in Stroke Patientsen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeStroke is increasingly found without regard to sex and age in the Thai population. Thus, it is mandatory that the Occupational Therapy (OT) service be directed at either improvement or maintenance with regard to individual skills of occupational performance. This OT service was systematically developed in further support of an increasing number of patients. In section I, Occupational Therapy – Mahidol Clinic System (OT-MCS) was created as an operational service for the OT Mahidol Clinic. This study was conducted in order to compare the number of patients who attended the OT Mahidol Clinic in the 30-day study period, before and after attending the OT-MCS. In section II, the patients studied comprised a group characterized as maintained performance (comparison of repeated therapeutic activities via descriptive statistics) and a group characterized by improved performance (comparison of levels of activity approach via Wilcoxon Test in the period of 30 days before and after the use of OT-MCS). After the use of OT-MCS, the number of patients increased although the number of supervised occupational therapists remained the same. The therapists also differentiated 40 activity items according to the levels of satisfaction and importance. Moreover, the maintained performance group had moderate and high levels of satisfaction with the importance of occupational performance. The improved performance group managed different levels of activity regarding international concepts of occupational therapy. The patients could express their existing potentials through meaningful activities, proper activity analysis and synthesis, learning the importance of occupational performance, and gaining satisfaction with the choices of occupational performance. The practice may be implemented in the patients’ realistic environment.en_US
dc.subject.keywordระบบการบริการen_US
dc.subject.keywordกิจกรรมบำบัดen_US
dc.subject.keywordโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.subject.keywordService Systemen_US
dc.subject.keywordOccupational Therapyen_US
dc.subject.keywordStrokeen_US
.custom.citationอนุชาติ เขื่อนนิล, Anuchart Kaunnil, ศุภลักษณ์ เข็มทอง and Supalak Khemthong. "ระบบการบริการกิจกรรมบำบัดมหิดลในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/210">http://hdl.handle.net/11228/210</a>.
.custom.total_download1001
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year102
.custom.downloaded_fiscal_year14

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n1 ...
Size: 394.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record