dc.contributor.author | สมนึก กุลสถิตพร | en_US |
dc.contributor.author | Somnuke Gulsatitporn | en_US |
dc.contributor.author | วัลลา ตันตโยทัย | en_US |
dc.contributor.author | Valla Tantayotai | en_US |
dc.contributor.author | ทิพยเนตร อริยปิติพันธ์ | en_US |
dc.contributor.author | Tipayanate Ariyapitipun | en_US |
dc.contributor.author | สิริเนตร กฤติยาวงศ์ | en_US |
dc.contributor.author | Sirinate Krittiyawong | en_US |
dc.contributor.author | นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล | en_US |
dc.contributor.author | Nipa Rojroongwasinkul | en_US |
dc.contributor.author | จงจิตร อังคทะวานิช | en_US |
dc.contributor.author | Jongjit Angkatavanich | en_US |
dc.contributor.author | วินัย ดะห์ลัน | en_US |
dc.contributor.author | Winai Dahlan | en_US |
dc.contributor.author | เทพ หิมะทองคำ | en_US |
dc.contributor.author | Thep Himathongkam | en_US |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-07T09:36:48Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:01:12Z | |
dc.date.available | 2008-12-07T09:36:48Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:01:12Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,3 (ก.ค.-ก.ย. 2551) (ฉบับเสริม 6) : 1447-1455 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2144 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในผู้ป่วยเบาหวานที่อาศัยอยู่ในชุมชนเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร 196 คน เป็นชาย 43 คน และ หญิง 153 คน อายุเฉลี่ย 58.4 ± 9.2 ปี โดยศึกษาพฤติกรรมการออกกำลังกายและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น สัดส่วนร่างกาย ระดับน้ำตาลหลังงดอาหาร และน้ำตาลสะสมที่ฮีโมโกลบิน ระดับไขมันในเลือด ในการศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายนั้นได้นำรูปแบบจำลองผ่านทฤษฎี (TTM) มาประยุกต์ใช้. การศึกษาพบว่าเมื่อนำเอารูปแบบ TTM มาประยุกต์ใช้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยเบาหวานในโครงการได้ คณะผู้วิจัยได้นำเสนอ "รูปแบบบันได 4 ขั้นสู่ความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย" ได้พบว่าเมื่อผู้ป่วยเบาหวาน 189 คน ได้ผ่านกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามรูปแบบนี้ ผู้ป่วย 168 คน มีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ คิดเป็นร้อยละ 88.9 เมื่อเปรียบเทียบผลการตรวจสารเคมีในเลือดระหว่างก่อนและหลังการศึกษา พบว่า ระดับน้ำตาลสะสมที่ฮีโมโกลบินลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี = 0.00). ส่วนค่าอื่นๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากผลการศึกษาดังกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า รูปแบบการส่งเสริมการออกกำลังกายโดยประยุกต์ทฤษฎีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกับการกำหนดขนาดของการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้ป่วยเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ที่เข้าร่วมโครงการได้ | th_TH |
dc.format.extent | 756333 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 | en_US |
dc.title.alternative | Development of an Exercise Promotion Model in Type 2 Diabetes Patients | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This action research study was aimed at developing a model for the promotion of exercise
behavior in 196 type-2 diabetic patients who were residing in a community of Bang Kor Laem
District, Bangkok. The study population comprised 43 men and 153 women, whose average age was
58.4 ± 9.2 years. The researchers studied the exercise behavior and related data, and measured the
patientsû anthropometry, fasting blood sugar, hemoglobin A1c, and lipid profiles. In this action
research for exercise behavior modification, the Transtheoretical Model (TTM) was employed, and it
yielded successful results; however, when the çFour-step Model for Achievement of Exercise
Behavior Modificationé was applied, it was found that 168 of 189 diabetic patients (equal to 88.9%
of the total) had improved exercise behavior. When comparing the result of blood chemical
concentrations checked before and after the study, it was found that the level of hemoglobin A1c
decreased, with the statistical significance being p = 0.00; however, other factors showed no
statistically significant changes. Based on the results of the study, it was concluded that, after
developing the model for promotion of exercise behavior in type-2 diabetic patients through the
application of the TTM, as well as designing the proper exercise prescription for diabetic patients,
the exercise behavior of the majority of diabetic patients in this program had been successfully
modified. | en_US |
dc.subject.keyword | การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม | en_US |
dc.subject.keyword | พฤติกรรมการออกกำลังกาย | en_US |
dc.subject.keyword | ผู้ป่วยโรคเบาหวาน | en_US |
dc.subject.keyword | Behavior Modification | en_US |
dc.subject.keyword | Exercise Behavior | en_US |
dc.subject.keyword | Type-2 Diabetes Mellitus | en_US |
dc.subject.keyword | Urban Community | en_US |
.custom.citation | สมนึก กุลสถิตพร, Somnuke Gulsatitporn, วัลลา ตันตโยทัย, Valla Tantayotai, ทิพยเนตร อริยปิติพันธ์, Tipayanate Ariyapitipun, สิริเนตร กฤติยาวงศ์, Sirinate Krittiyawong, นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล, Nipa Rojroongwasinkul, จงจิตร อังคทะวานิช, Jongjit Angkatavanich, วินัย ดะห์ลัน, Winai Dahlan, เทพ หิมะทองคำ and Thep Himathongkam. "การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2144">http://hdl.handle.net/11228/2144</a>. | |
.custom.total_download | 2646 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 17 | |
.custom.downloaded_this_year | 509 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 43 | |