สถานการณ์ระบบข้อมูลเพื่อการติดตามกำกับหน่วยบริการปฐมภูมิ
dc.contributor.author | สุพัตรา ศรีวณิชชากร | th_TH |
dc.contributor.author | Supattra Srivanichakorn | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | th_TH |
dc.date.accessioned | 2008-09-29T09:02:28Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T16:21:19Z | |
dc.date.available | 2008-09-29T09:02:28Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T16:21:19Z | |
dc.date.issued | 2550 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,1 (เม.ย.-มิ.ย. 2550) : 35-46 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/214 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบติดตามประเมินผลหน่วยบริการปฐมภูมิในระดับมหภาค ในพ.ศ. 2548 ผลการศึกษา แสดงถึงกรอบแนวคิดในการพัฒนาตัวชี้วัดในการกำกับ ติดตามหน่วยบริการปฐมภูมิและสถานการณ์ของระบบข้อมูลของเครือข่ายหน่วยบริการตามตัวชี้วัด โดยใช้ระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน และระบบงานแม่และเด็กเป็นตัวแทนคุณลักษณะงานหลักของหน่วยบริการที่เป็นการดูแลแบบองค์รวม เสริมศักยภาพการพึ่งตนเองของประชาชน พบว่าระบบข้อมูลในด้านการดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความแตกต่างระหว่างพื้นที่มาก และต้องมีการพัฒนาระบบข้อมูลที่แสดงถึงคุณภาพของระบบบริการเพิ่มเติม ส่วนงานด้านแม่และเด็กพบว่าโรงพยาบาลมีบทบาทในการให้บริการด้านนี้เพิ่มขึ้น หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายมีฐานข้อมูลไม่แตกต่างกันมากนัก แต่จัดเก็บในรูปแบบที่ต่างกัน และมีแนวโน้มที่ฐานข้อมูลบางส่วน ความถูกต้องของข้อมูลถูกจัดเก็บแยกเป็นส่วนๆ ตามส่วนฐานย่อยที่ดูแลงานนั้น ทำให้การประมวลข้อมูลที่ต่อเนื่องตั้งแต่กระบวนการจนถึงผลลัพธ์เป็นรายคนทำได้ยากมากขึ้น ตัวชี้วัดด้านผลลัพธ์ที่ใช้ในการติดตาม ประเมินผลงานแม่และเด็กไม่ไวพอในการแยกความแตกต่างคุณภาพระหว่างหน่วยบริการต่างๆ จำเป็นที่ต้องประเมินคุณภาพจากกระบวนการบริการร่วมด้วย ซึ่งข้อมูลบางส่วนควรจัดเก็บที่โรงพยาบาลแทนและควรให้หน่วยบริหารระดับจังหวัดเป็นส่วนที่ตรวจสอบข้อมูล ติดตามประมวลวิคราะห์ข้อมูลร่วมกันทั้งชุด น่าจะเป็นวิธีการที่ทำให้ได้ข้อมูลที่เที่ยงตร ง และน่าเชื่อถือมากกว่าการดำเนินงานรวมโดยหน่วยงานส่วนกลาง | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | สถานการณ์ระบบข้อมูลเพื่อการติดตามกำกับหน่วยบริการปฐมภูมิ | th_TH |
dc.title.alternative | Situation of Information System for Monitoring of Primary Care Units (PCU) | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study is one part of the development of primary care monitoring system at a macro level in 2005. This part shows the conceptual framework to develop the indicators and the existing database system of primary care units based on such development. The diabetic care and mother and child health care were used to represent the unique characteristic of primary care, advocating holistic approach, continuity of care, and supporting self-reliance. The study found that data for quality indicators of diabetic care lacking, varied among units, and needed to be newly developed. The data for indicators of MCH care have not been so different among units, but the collection form was varied and segmented by different units. The incompleteness and inconsistency of data of the same case was high. The outcome indicators were too insensitive to allow differentiation of the quality of individual primary care networks. It needs the process indicators that can be collected through hospital database. Moreover the database will be more reliable and accurate if the provincial monitoring committee, instead of the central unit check and analyze the data as a package. | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study is one part of the development of primary care monitoring system at a macro level in 2005. This part shows the conceptual framework to develop the indicators and the existing database system of primary care units based on such development. The diabetic care and mother and child health care were used to represent the unique characteristic of primary care, advocating holistic approach, continuity of care, and supporting self-reliance. The study found that data for quality indicators of diabetic care lacking, varied among units, and needed to be newly developed. The data for indicators of MCH care have not been so different among units, but the collection form was varied and segmented by different units. The incompleteness and inconsistency of data of the same case was high. The outcome indicators were too insensitive to allow differentiation of the quality of individual primary care networks. It needs the process indicators that can be collected through hospital database. Moreover the database will be more reliable and accurate if the provincial monitoring committee, instead of the central unit check and analyze the data as a package. | en_EN |
dc.subject.keyword | ระบบข้อมูล | th_TH |
dc.subject.keyword | หน่วยบริการปฐมภูมิ | th_TH |
dc.subject.keyword | Data System | en_US |
dc.subject.keyword | PCU | en_US |
.custom.citation | สุพัตรา ศรีวณิชชากร and Supattra Srivanichakorn. "สถานการณ์ระบบข้อมูลเพื่อการติดตามกำกับหน่วยบริการปฐมภูมิ." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/214">http://hdl.handle.net/11228/214</a>. | |
.custom.total_download | 849 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 12 | |
.custom.downloaded_this_year | 119 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 21 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ