Show simple item record

Pharmaceutical care and prescription refill for type 2 diabetes mellitus patients in university pharmacy

dc.contributor.authorวิลาวัณย์ ทุนดีen_US
dc.contributor.authorปวิตรา พูลบุตรen_US
dc.contributor.authorรจเรศ หาญรินทร์en_US
dc.contributor.authorWilawan Toondeeen_EN
dc.contributor.authorPawitra Pulbutren_EN
dc.contributor.authorRoadjares Hanrinen_EN
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-01-30T07:37:13Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:50:17Z
dc.date.available2009-01-30T07:37:13Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:50:17Z
dc.date.issued2545en_US
dc.identifier.otherhs1470en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2257en_US
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาแบบ Quasi Experimental กลุ่มควบคุมและทดลอง มีจำนวนกลุ่มละ 59 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมและรับยาต่อเนื่องที่ร้านยาเป็นเวลา 1 ปี กลุ่มควบคุมได้รับบริการตามปกติที่คลินิกพิเศษในโรงพยาบาล ทั้ง 2 กลุ่มไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของ เพศ ระยะเวลาที่เป็นเบาหวาน สถานภาพและโรคประจำตัวไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เว้นแต่ อายุและการศึกษา ซึ่งพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อสิ้นสุดโครงการเหลือผู้ป่วยเข้าร่วมโครงการกลุ่มละ 32 คน เนื่องจากย้ายไปรับบริการที่สถานีอนามัยในภูมิลำเนาและมีการส่งต่อกลับไปรักษาที่โรงพยาบาล ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองมี HbA1C สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเนื่องจากมีผู้ป่วยบางส่วนไม่สามารถมาตามนัดได้อย่างต่อเนื่อง สำหรับค่า BUN,Cr ไม่พบว่าแตกต่างกัน ผลการประเมินคุณภาพชีวิตพบว่า General Health Perception ของกลุ่มทดลองดีขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและมี Physical Functioning, Role-Physical, Mental Health และ Vitality ดีขึ้นกว่าเดิมเมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังและมีความพึงพอใจมากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในด้านการบริการโดยทั่วไป สัมพันธภาพระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ การเข้าถึงบริการและค่าใช้จ่ายด้านยา พบว่ากลุ่มทดลองมีค่าใช้จ่ายด้านยาน้อยกว่ากลุ่มควบคุมและจำนวนครั้งที่พบเภสัชกรมากกว่า ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการให้บริการจ่ายยาต่อเนื่องโดยเภสัชกรในร้านยาอาจจะช่วยให้ผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและมีความพึงพอใจต่อการได้รับบริการ ซึ่งอาจจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้ป่วยในการรับบริการในอนาคตth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent2006913 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการบริบาลเภสัชกรรมและการจ่ายยาต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 ในร้านยามหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativePharmaceutical care and prescription refill for type 2 diabetes mellitus patients in university pharmacyen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoWB330 ว719ก [2545]en_US
dc.identifier.contactno45ค043en_US
dc.subject.keywordการจ่ายยาen_US
dc.subject.keywordการรักษาด้วยยาen_US
dc.subject.keywordเบาหวานประเภทที่ 2en_US
dc.subject.keywordเภสัชกรรมen_US
dc.subject.keywordการบริบาลทางเภสัชกรรมen_US
.custom.citationวิลาวัณย์ ทุนดี, ปวิตรา พูลบุตร, รจเรศ หาญรินทร์, Wilawan Toondee, Pawitra Pulbutr and Roadjares Hanrin. "การบริบาลเภสัชกรรมและการจ่ายยาต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 ในร้านยามหาวิทยาลัย." 2545. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2257">http://hdl.handle.net/11228/2257</a>.
.custom.total_download186
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs1470.pdf
Size: 1.913Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record