แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การทบทวนเอกสารวิชาการ บทเรียนการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาในประเทศต่างๆ

dc.contributor.authorนิธิมา สุ่มประดิษฐ์en_US
dc.coverage.spatialเกาหลีใต้en_US
dc.coverage.spatialชิลีen_US
dc.coverage.spatialไต้หวันen_US
dc.coverage.spatialเบลเยี่ยมen_US
dc.coverage.spatialฝรั่งเศสen_US
dc.coverage.spatialสวีเดนen_US
dc.coverage.spatialสหรัฐอเมริกาen_US
dc.date.accessioned2009-06-05T08:00:19Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:17:50Z
dc.date.available2009-06-05T08:00:19Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:17:50Z
dc.date.issued2552-04en_US
dc.identifier.otherhs1554en_US
dc.identifier.other52-033en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2525en_US
dc.description.abstractการควบคุมหรือแก้ไขปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยาได้มีการหารือในระดับนานาชาติ เช่น ในการประชุม World Health Assembly (WHA) ในปี 1998 ที่ประชุมได้มี resolution กระตุ้นให้ประเทศสมาชิกดำเนินการแก้ปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยา ในปี 2000 องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ได้ขอให้ทุกฝ่ายร่วมกันปกป้องความหายนะด้านสุขภาพในอนาคต (health care catastrophe of tomorrow) และได้จัดทำและออกหนังสือชื่อ A global strategy for the containment of antimicrobial resistance ซึ่งวิธีการที่ระบุในหนังสือนี้อาศัยการทำงานร่วมกันแบบสหสาขา (multidisciplinary and coordinated approach) อย่างไรก็ตามข้อเสนอที่จัดทำโดย WHO ไม่ได้รับการตอบรับในการนำไปใช้ใน กลุ่มประเทศสมาชิกเนื่องจากว่าไม่มีการจัดสรรทรัพยากรด้านบุคคลและงบประมาณที่เพียงพอในปี 2005 WHA ขอให้มีการเพิ่มบทบาทการเป็นผู้นำของ WHO ในการควบคุมและแก้ไขปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยา และขอให้ WHO ให้การสนับสนุนทางด้านวิชาการให้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์ที่จัดทำโดย WHO (A global strategy for the containment of antimicrobial resistance resolution) ไม่ค่อยถูกนำไปใช้และมักไม่ได้รับการยอมรับจากผู้กำหนดนโยบายจากประเทศต่างๆเนื่องจากมีความยากในการปฏิบัติเพราะแต่ละประเทศมีปัจจัยที่แตกต่างกัน ในประเทศที่พัฒนาแล้ว แม้จะมีระบบการควบคุมการกระจายยาที่ดีแต่ก็ยังมีปัญหาด้านการประสานความร่วมมือระหว่างกัน ซึ่งพบว่ามีประเทศในยุโรปบางแห่งที่ยาปฏิชีวนะหาซื้อได้ง่ายโดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์หรือมีการเก็บยาปฏิชีวนะที่กินไม่หมดไว้ใช้ในคราวต่อไป สำหรับประเทศที่กำลังพัฒนาการควบคุมหรือการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยามีความยากกว่า เพราะประเทศในกลุ่มนี้มักมีระบบดูแลสุขภาพที่ไม่ดี มีปัญหาความยากจน และการไม่มีประสิทธิภาพในการประสานกลยุทธ์ในการแก้ปัญหา ดังนั้น แต่ละประเทศจึงมีการดำเนินการในการควบคุมหรือแกไขปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยากันเอง แต่จะแตกต่างในระดับความเข้มข้นของการดำเนินการ การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจะสำเร็จมากน้อยเพียงใดขึ้นกับขนาดของประเทศและความจริงจังของของภาครัฐในการแก้ปัญหาดังกล่าว ประเทศที่มีจำนวนใบสั่งยาและปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะในคนไข้นอกลดลงในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ได้แก่ ทวีปยุโรป (ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม สเปน เยอรมนี สหราชอาณาจักร และสวีเดน) ทวีปเอเชีย-แปซิฟิค (เกาหลีใต้ ไต้หวัน และออสเตรเลีย) และทวีปอเมริกา (สหรัฐอเมริกาแคนนาดา และชิลี) ซึ่งในรายงานนี้จะนำเสนอเฉพาะในบางประเทศ คือ เกาหลีใต้ ใต้หวัน ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม สวีเดน ชิลี และสหรัฐอเมริกาth_TH
dc.description.sponsorshipคณะกรรมการกำกับทิศทางการวิจัยและพัฒนาระบบยาของไทย,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการป้องกันและควบคุมโรคen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการทบทวนเอกสารวิชาการ บทเรียนการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาในประเทศต่างๆen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoQV350 น612ก 2552en_US
dc.subject.keywordเชื้อดื้อยาen_US
dc.subject.keywordยาปฏิชีวนะen_US
.custom.citationนิธิมา สุ่มประดิษฐ์. "การทบทวนเอกสารวิชาการ บทเรียนการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาในประเทศต่างๆ." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2525">http://hdl.handle.net/11228/2525</a>.
.custom.total_download411
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year15
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1554.pdf
ขนาด: 290.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย