Show simple item record

Economic Cost of Alcohol-related Absenteeism and Presenteeism in Thailand

dc.contributor.authorกรรณิการ์ ฐิติบุญสุวรรณen_US
dc.contributor.authorKhannika Thitiboonsuwanen_US
dc.contributor.authorมนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์en_US
dc.contributor.authorMontarat Thavorncharoensapen_US
dc.contributor.authorชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์en_US
dc.contributor.authorChanida Lertpitakpongen_US
dc.contributor.authorจอมขวัญ โยธาสมุทรen_US
dc.contributor.authorJomkwan Yothasamuten_US
dc.contributor.authorอุษา ฉายเกล็ดแก้วen_US
dc.contributor.authorUsa Chaikledkaewen_US
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.authorYot Teerawattananonen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-07-24T06:53:47Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:02:21Z
dc.date.available2009-07-24T06:53:47Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:02:21Z
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 3,1(ม.ค.-มี.ค.2552) : 102-112en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2567en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจจากการขาดงานและการสูญเสียประสิทธิภาพขณะทำงานจากการบริโภคแอลกอฮอล์ใน พ.ศ. 2550 โดยทำการสำรวจแบบภาคตัดขวางในประชากรไทย อายุ 15-60 ปี ที่มีงานทำในรอบ 7 วันก่อนการสำรวจ จาก 5,330 ครัวเรือนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างของการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เดือนกรกฎาคม 2550 เปรียบเทียบผลิตภาพในการทำงานโดยรวมที่ลดลงในผู้ดื่มประเภทต่างๆ โดยใช้สถิติ Kruskal Wallis วิเคราะห์แต่ละปัจจัยและใช้แบบจำลองเส้นตางแบบทั่วไปในการวิเคราะห์หลายปัจจัยพร้อมกัน จากนั้นนำผลต่างของประสิทธิภาพในการทำงานที่ลดลงของผู้ดื่มในแต่ละประเภทเทียบกับผู้ไม่ดื่มคูณด้วยรายได้ต่อปี อัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานและจำนวนประชากรในประเภทการดื่มนั้นๆ เพื่อประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น จากการวิเคราะห์ทีละตัวแปรพบว่า ผู้ที่เคยดื่ม ดื่มบ้าง และดื่มอย่างอันตรายมาก มีผลิตภาพในการทำงานโดยรวมลดลงมากกว่าผู้ไม่ดื่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ร้อยละ 5.6, 1.7 และ 5.7 ตามลำดับ) ก่อให้เกิดความสูญเสียเป็นมูลค่าถึง 26,700-45,464 ล้านบาท ด้วยการคำนวณภายใต้ภาวะคงที่โดยใช้ผลจากการวิเคราะห์ทีละปัจจัยและด้วยการคำนวณตามแบบจำลองความน่าจะเป็น โดยใช้ผลจากการวิเคราะห์หลายปัจจัยพร้อมกัน การบริโภคแอลกอฮอล์ก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจทั้งจากการขาดงานและการสูญเสียประสิทธิภาพขณะทำงานเป็นมูลค่าสูง ผลการศึกษาทำให้สังคมตระหนักถึงความสูญเสียอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น รัฐบาลควรมีการกำหนดนโยบายและมาตรการที่เหมาะสมในการลดการบริโภคแอลกอฮอล์ในประชากรวัยทำงานเพื่อลดผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent221111 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectแอลกอฮอล์en_US
dc.subjectต้นทุน,ประสิทธิผลen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์en_US
dc.titleต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการขาดงานและด้อยประสิทธิภาพการทำงานจากการบริโภคแอลกอฮอล์en_US
dc.title.alternativeEconomic Cost of Alcohol-related Absenteeism and Presenteeism in Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis study was aimed at estimating the economic cost of productivity loss associated with alcohol consumption in term of absenteeism and presenteeism among the Thai population in 2007. A cross-sectional household survey was carried out among the Thai population aged 15 to 60 years from 4,330 households, who were in paid employment. The impairment rate due to absenteeism and presenteeism for each drinking category was compared using the Kruskal Wallis test for univariate analysis while the generalized linear model (GLM) was used in multivariate analysis. Cost of productivity loss was then calculated as the product of the excess impairment rate, labor force participation rate, income per year, and total number of drinkers in that category. According to the univariate analysis, the productivity loss in former drinkers, responsible drinkers, and harmful drinkers was significantly higher than in the abstainers at 5.6 percent, 1.7 percent, and 5.7 percent respectively. According to the study, the cost of productivity loss due to alcohol in terms of absenteeism and presenteeism was approximately 26,700 million to 45,464 million baht by using a deterministic approach and univariate analysis, and probalistic approach and multivariate analysis, respectively. Alcohol consumption is associated with high economic cost in terms of absenteeism and presenteeism in Thailand. This finding can be used to promote the public’s awareness of and draw their attention to the negative impact of alcohol in terms of productivity loss. According to the study, the government and employers should implement more effective policy aimed at reducing alcohol consumption among the working population in order to reduce the economic cost related to absenteeism and presenteeism.en_US
dc.subject.keywordต้นทุนen_US
dc.subject.keywordการสูญเสียผลิตภาพen_US
dc.subject.keywordการขาดงานen_US
dc.subject.keywordAlcoholen_US
dc.subject.keywordProductivity Lossen_US
dc.subject.keywordAbsenteeismen_US
.custom.citationกรรณิการ์ ฐิติบุญสุวรรณ, Khannika Thitiboonsuwan, มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์, Montarat Thavorncharoensap, ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์, Chanida Lertpitakpong, จอมขวัญ โยธาสมุทร, Jomkwan Yothasamut, อุษา ฉายเกล็ดแก้ว, Usa Chaikledkaew, ยศ ตีระวัฒนานนท์ and Yot Teerawattananon. "ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการขาดงานและด้อยประสิทธิภาพการทำงานจากการบริโภคแอลกอฮอล์." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2567">http://hdl.handle.net/11228/2567</a>.
.custom.total_download879
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month9
.custom.downloaded_this_year142
.custom.downloaded_fiscal_year20

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v3n1 ...
Size: 220.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record