แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ประโยชน์ของการตรวจวิธีแป๊ป เพื่อคัดกรองโรคมะเร็งคอมดลูกในสตรีที่ผลการตรวจวิธีวีไอเอ เป็นบวก

dc.contributor.authorไชยพร ส่งประเสริฐเจริญen_US
dc.contributor.authorChaiyaporn Songphasertcharoenen_US
dc.coverage.spatialหนองคายen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:39:06Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:21Z
dc.date.available2008-10-01T10:39:06Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:21Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 4) : 920-924en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/258en_US
dc.description.abstractมะเร็งคอมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากในสตรีไทย ได้มีการคัดกรองคอมดลูกระยะก่อนเป็นมะเร็งด้วยการตรวจวิธีแป๊ปมานานกว่า 40 ปี แต่ความครอบคลุมไม่ประสบผลสำเร็จ ระยะหลังจึงนำวิธีป้ายปากมดลูกด้วยกรดน้ำส้มเจือจางและตรวจด้วยตาเปล่า (วีไอเอ) มาใช้ร่วมด้วย เมื่อผลการตรวจด้วยวิธีวีไอเอให้ผลบวก ก็ยังมีแพทย์จำนวนไม่น้อยไปตรวจคัดกรองซ้ำด้วยวิธีแป๊ป การศึกษาครั้งนี้จึงดำเนินเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งคอมดลูกระยะก่อนมะเร็งด้วยวิธีแป๊ปในผู้ที่รับการตรวจคัดกรองด้วยวิธีวีไอเอได้ผลบวกแล้ว การศึกษาทำย้อนหลังแบบพรรณนาผู้ที่รับการตรวจที่โรงพยาบาลบึงกาฬ อำเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย ในช่วงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2547 ถึง 16 กุมภาพันธ์ 2550 จำนวน 109 ราย ผลการตรวจวิธีแป๊ปและการตรวจด้วยกล้องส่องตรวจปากมดลูกพร้อมกับตัดชิ้นเนื้อปากมดลูก ผลการตรวจแป๊ปไม่พบความผิดปรกติ 102 รายและผิดปรกติ 7 ราย ส่วนผลการตรวจชิ้นเนื้อไม่พบเซลล์คอมดลูกผิดปรกติหรือมีการอักเสบจำนวน 90 ราย และผลการตรวจ "ผิดปรกติ" คือผลการตรวจพบเซลล์ผิดปรกติตั้งแต่ระดับ 1 จนถึงเป็นมะเร็งคอมดลูกจำนวน 19 ราย จากการคำนวณได้ความไวของการตรวจวิธีแป๊ปเป็นร้อยละ 36.84 และความจำเพาะร้อยละ 100 มีค่าการทำนายเมื่อผลการตรวจเป็นบวกร้อยละ 100 และค่าการทำนายเมื่อผลการตรวจเป็นลบร้อยละ 88.24 จากผลการศึกษานี้แสดงว่าเมื่อทำการตรวจคัดกรองด้วยวิธีวีไอเอมาแล้วได้ผลบวก ไม่ควรทำการตรวจคัดกรองซ้ำด้วยวิธีแป๊ปอีก เนื่องจากผลการตรวจวิธีแป๊ปมีความไวค่อนข้างต่ำth_TH
dc.format.extent150306 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleประโยชน์ของการตรวจวิธีแป๊ป เพื่อคัดกรองโรคมะเร็งคอมดลูกในสตรีที่ผลการตรวจวิธีวีไอเอ เป็นบวกen_US
dc.title.alternativeBenefits of Performing Vaginal Papanicolaou Smear in Visual Inspection, Using Acetic Acid-positive Subjectsen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeCarcinoma of the cervix is the most common cancer in Thai women. Over 40 years, Pap smears have been used as the standard technique for cervical cancer screening, but the coverage is quite low among the population and the incidence of advanced stage cancer is still high. Acetic acid (VIA) testing had been introduced as an alternative method in order to improve the effectiveness of cervical cancer screening in Thailand. When the VIA result was positive, the client is referred for further management, but most doctors do a repeat Pap smear to start rescreening as usual. This study was conducted to evaluate the effectiveness of VIA and determine how necessary it is to practice in VIA-positive women. This retrospective descriptive study was conducted in VIA-positive women who were sent for colposcopic examination between February 17, 2004 and February 16, 2007, a total of 109 cases. Pap smear and colposcopic cervical biopsy, with or without LEEP conization, were performed. A Pap smear result of “normal” meant normal; inflammation was found in 102 cases. “Abnornal” meant SIL or CIN to carcinomas, which was found in seven cases. The histopathological result was classified as “normal”, meaning negative and cervicitis, and “abnormal” meaning CIN I to carcinomas, which were found in 90 and 19 cases respectively. Pap smear sensitivity was 36.84 percent, specificity was 100 percent, positive predictive value was 100 percent, and negative predictive value was 88.24 percent. This study suggested that repeated screening by Pap smear in VIA-positive women should not be recommended due to its low sensitivity.en_EN
dc.subject.keywordการตรวจวิธีแป๊ปen_US
dc.subject.keywordการตรวจวีไอเอen_US
dc.subject.keywordโรคมะเร็งคอมดลูกen_US
dc.subject.keywordPap Smearen_US
dc.subject.keywordVIAen_US
dc.subject.keywordScreeningen_US
.custom.citationไชยพร ส่งประเสริฐเจริญ and Chaiyaporn Songphasertcharoen. "ประโยชน์ของการตรวจวิธีแป๊ป เพื่อคัดกรองโรคมะเร็งคอมดลูกในสตรีที่ผลการตรวจวิธีวีไอเอ เป็นบวก." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/258">http://hdl.handle.net/11228/258</a>.
.custom.total_download605
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year65
.custom.downloaded_fiscal_year8

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 151.1Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย