การส่งต่อผู้คลอดไม่สำเร็จจากโรงพยาบาลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
dc.contributor.author | สุพล เจริญวิกกัย | en_US |
dc.contributor.author | Supon Charoenvikkai | en_US |
dc.coverage.spatial | สตูล | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-10-01T10:39:57Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:55:21Z | |
dc.date.available | 2008-10-01T10:39:57Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:55:21Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 4) : 940-946 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/261 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้เสนอข้อมูลการส่งต่อผู้คลอดไม่สำเร็จจากโรงพยาบาลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ในปีงบประมาณ 2548-2550 เพื่อใช้เป็นแนวทางวางแผนเตรียมความพร้อมพัฒนาการดูแลผู้คลอดและการส่งต่อ ข้อมูลได้จากการทบทวนทะเบียนส่งต่อของแผนกห้องคลอดที่เกี่ยวกับการคลอดไม่สำเร็จ ได้แก่ อัตรา ลักษณะของผู้คลอดไม่สำเร็จ ลักษณะการคลอดเมื่อส่งต่อไปยังโรงพยาบาลสตูล (โรงพยาบาลทั่วไป) ประชากรที่ศึกษามีจำนวน 122 ราย ซึ่งคลอดไม่สำเร็จ ต้องส่งต่อคิดเป็นร้อยละ 15.74 ของผู้มาคลอด 775 ราย การคลอดหลังการส่งต่อ ณ โรงพยาบาลสตูล พบว่าร้อยละ 41.80 คลอดได้ทางช่องคลอดซึ่งนับรวมการคลอดท่าก้น, ร้อยละ 40.98 คลอดโดยการผ่าตัด ซึ่งคิดเป็นผู้คลอดร้อยละ 6.45 ที่จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดคลอดจากจำนวนผู้คลอดทั้งหมด 775 ราย ซึ่งผลใกล้เคียงกับข้อมูลร้อยละ 5.46 ถึง 7.04 ของสำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข การคลอดไม่สำเร็จส่วนมากเป็นการตั้งครรภ์แรก สาเหตุการ ส่งต่อเรียงตามลำดับ ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูงจากตั้งครรภ์ สัดส่วนศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานไม่เหมาะกัน การรอคลอดในระยะที่ 2 ยาวนาน สภาพทารกคับขัน คลอดก่อนกำหนด และทารกท่าก้น ลักษณะการคลอดหลังส่งต่อ ณ โรงพยาบาลสตูล พบว่าผู้ป่วยภาวะความดันโลหิตสูง สภาพทารกคับขัน และคลอดก่อนกำหนด ส่วนใหญ่คลอดทางช่องคลอดได้ร้อยละ 66.67, 45.46 และ 54.54 ตามลำดับ ผู้คลอดรายที่สัดส่วนขนาดศีรษะทารกและเชิงกรานผู้คลอดไม่เหมาะ ระยะการคลอดยาวนาน และทารกท่ากัน คลอดโดยการผ่าตัดร้อยละ 50, 45.46 และ 90.91 ตามลำดับ | th_TH |
dc.format.extent | 167744 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | การส่งต่อผู้คลอดไม่สำเร็จจากโรงพยาบาลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล | en_US |
dc.title.alternative | Referral of Unsuccessful Labor Cases from Khuandon Hospital, Satun Province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | This report describes data on the referral by Khuandon Hospital in Satun Province of patients experiencing unsuccessful labor in fiscal years 2005-2007. The objectives of the study were to compile knowledge for planning in order to improve patient care and referrals. The methodology of the study was to review the 122 cases of unsuccessful delivery in the labor division of Khuandon Hospital, focusing on the rate of unsuccessful labor, the characteristics of the patients experiencing unsuccessful labor and the patterns of delivery after they were referred to a general hospital in the province. The findings were as follows: the unsuccessful labor rate was 15.74 percent among the total study population of 775 pregnant women. The patterns of delivery at Satun Hospital, to which the women had been referred, resulted in normal labor including breech-assisted cases (41.80%), caesarean section (40.98%) (or 6.45% of the total of 775 pregnant women, which was similar to the data of the Office of Health Service Development, Ministry of Public Health (5.46 - 7.04%). The majority of patients experiencing unsuccessful labor were primigravidae. The causes of referrals ranged respectively from pregnancy-induced hypertension (PIH), cephalopelvic disproportion (CPD), prolonged stage, and fetal distress, to premature labor and breech presentation. With regard to the patterns of delivery after the referrals at the Satun General Hospital, PIH, fetal distress and premature labor cases were successfully delivered in 66.67, 45.46 and 54.54 percent of the cases, respectively, but the majority of CPD, prolonged stage and breech presentation necessitated caesarean section (50.00, 45.46 and 90.91% respectively). The following recommendations were made : the medical and nurse committees, obstetricians and pediatricians should join together to develop guidelines for the care and referral of patients in labor and the hospitals should link the data about the results of the care and health status of the mother and child after referral. | en_US |
dc.subject.keyword | การส่งต่อผู้คลอดไม่สำเร็จ | en_US |
dc.subject.keyword | โรงพยาบาลควนโดน | en_US |
dc.subject.keyword | จังหวัดสตูล | en_US |
dc.subject.keyword | Unsuccessful Labor Patient | en_US |
dc.subject.keyword | khuandon Hospital | en_US |
dc.subject.keyword | Satun Province | en_US |
.custom.citation | สุพล เจริญวิกกัย and Supon Charoenvikkai. "การส่งต่อผู้คลอดไม่สำเร็จจากโรงพยาบาลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/261">http://hdl.handle.net/11228/261</a>. | |
.custom.total_download | 548 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 5 | |
.custom.downloaded_this_year | 96 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 20 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ